Creative Commons License
  • ความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของสารอาหารหลัก (NPK) กับอายุใบในพรรณไม้ป่าเบญพรรณและป่าดิบแล้ง ท้องที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

  • Relationships of macronutrient and leaf age in MDF and DEF species at Thong Pha Phum district, Kanchanaburi province

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Architecture and Engineering and Natural Resources and Environment

  • 45

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2550

  • พรชัย กัณห์อุไร
    พรภินันท์ สกุลธาร

  • 978-974-537-999-2

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 730-738

  • 902 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • F61-ธาตุอาหาร

  • F62-การเจริญเติบโตของพืช

  • พืชพรรณ;ป่า;ป่าเบญจพรรณที่มีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล;ชนิด;สารอาหาร;ใบ;การเติบโต;การพัฒนาทางชีววิทยา

  • Vegetation;Forests;Deciduous seasonal forests;Species;Nutrients;Leaves;Growth;Biological development

  • พรรณไม้ป่า;ป่าเบญพรรณ;ชนิดพืช;ความเข้มข้น;สารอาหารหลัก;การเจริญเติบโต;อายุใบ;ป่าดิบแล้ง;จ.กาญจนบุรี อ.ทองผาภูมิ

  • ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นสารอาหารหลัก (NPK) ของใบไม้และอายุใบของพรรณไม้ทั้งสิ้น 21 ชนิด ป่าเบญจพรรณ (12 ชนิด) และป่าดิบแล้ง (9 ชนิด) ได้ดำเนินการบริเวณสถานีวิจัยลุ่มน้ำแม่กลอง ท้องที่ ตำบลลิ่นถิ่น อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ศึกษาในเดือนมีนาคม 2544 - เดือนมีนาคม 2547 พรรณไม้ในป่าเบญจพรรณ ได้แก่ รัง (Shorea siamensis Miq.) แดง (Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. xylocarpa) สมอไทย (Terminalia chebula Retz var. chebula) ส้าน (Dillenia ovata (Blume) Hooglooand) อินทนินบก (Lagerstroemia macrocarpa Wall.) เหมือดหอม (Symplocos racemosa Roxb.) ตะคร้อ (Schleichera oleosa (Lour.) Oken) ตีนนก (Vitex pinnata L.) เปล้าหลวง (Croton roxburghii N.P. Balakr.) ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus Kurz) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta Wall.) และแสลงใจ (Strychnos nux-vomica L.) พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารอาหารหลัก (NPK) ของใบไม้และอายุใบของพรรณไม้ป่าเบญจพรรณ เมื่อใบผลิมีปริมาณสารอาหาร ค่อนข้างสูง และลดลงตามลำดับ ก่อนที่ใบร่วงหล่น ส่วนการศึกษาพรรณไม้ของป่าดิบแล้ง จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ หนังหนาผลใหญ่ (Enicosanthum magnoliflorum (Hook.f. and Thomson) Airy-Shaw) ยางโอน (Polyalthia viridis Craib) ไข่เขียว (Parashorea stellata Kurz) ชมพู่เสม็ด (Aglaia rugbignosa (Hiern) Pannell) กะฮาร์ (Panephelium spirei Lec) มะชมพู่ป่า (Syzygium megacarpum (Craib) Rathakr. and N.C.Nair) นางเลว (Cyathocalyx martabanicus Hook.f. and Thomson var. harmandii Finet and Gagnep.) พิกุลเถื่อน (Mimusops elengi L.) และเลือดแรด (Knema globularia (Lam.) Warb.) พบว่าความเข้มข้นของสารอาหารหลัก (NPK) ของใบไม้ค่อนข้างสูง เนื่องจากใบยังปรากฏอยู่ มีความผันแปรขนานไปกับแกนนอน (อายุใบ) และยังพบอีกว่าการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารอาหารนั้นขึ้นกับชนิดไม้ (P value = 0.0001) ทั้งสองป่า

  • Relationships between the change of macronutrient (N,P,K) in leaf and leaf age of twelve tree species from the Mixed Deciduous Forest (MDF) and nine tree species from the Dry Evergreen Forest (DEF) at Mae Klong Watershed Research Station, Tumbon Lintin, Thong Pha Phum District, Kanchanaburi Province during March 2001-March 2004. The MDF tree species were Shorea siamensis Miq., Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. xylocarpa, Terminalia chebula Retz var. chebula, Dillenia ovata (Blume) Hooglooand, Lagerstroemia macrocarpa Wall, Symplocos racemosa Roxb., Schleichera oleosa (Lour.) Oken, Vitex pinnata L., Croton roxburghii N.P. Balakr., Pterocarpus macrocarpus Kurz, Lagerstroemia venusta Wall. and Strychnos nux-vomica L. The change of macronutrient in leaf of MDF was at first increasing for a period then it was gradually decreased respectively until the leaf was shed. The nine selected species from DEF were Enicosanthum magnoliflorum (Hook.f. and Thomson) Airy-Shaw, Polyalthia viridis Craib, Parashorea stellata Kurz, Aglaia rugbignosa (Hiern) Pannell, Panephelium spirei Lec, Syzygium megacarpum (Craib) Rathakr. and N.C.Nair, Cyathocalyx martabanicus Hook.f. and Thomson var. harmandii Finet and Gagnep., Mimusops elengi L. and Knema globularia (Lam.) Warb. The results showed that the change of macronutrient was at first increased after that remaintained as the leaf is still on and the pattern of variation was fluctuate along the leaf age and nutrient changed depended on tree species in both forest type (p-value = 0.0001)

  • [1] พรชัย กัณห์อุไร (กรมป่าไม้ สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กลุ่มงานวนวัฒนวิจัย)
    [2] พรภินันท์ สกุลธาร (กรมป่าไม้ สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้และผลิตผลป่าไม้ กลุ่มงานวนวัฒนวิจัย)

  • [1] Pornchai Kanurai (Royal Forest Department, Bangkok (Thailand). Forest Management and Forest Products Research Office. Silviculture Research Division)
    [2] Pornpinun Sakultarl (Royal Forest Department, Bangkok (Thailand). Forest Management and Forest Products Research Office. Silviculture Research Division)

362 78

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

พรชัย กัณห์อุไร และ พรภินันท์ สกุลธาร. (2550). ความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของสารอาหารหลัก (NPK)
           กับอายุใบในพรรณไม้ป่าเบญพรรณและป่าดิบแล้ง ท้องที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


พรชัย กัณห์อุไร และ พรภินันท์ สกุลธาร. "ความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของสารอาหารหลัก (NPK)
           กับอายุใบในพรรณไม้ป่าเบญพรรณและป่าดิบแล้ง ท้องที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

พรชัย กัณห์อุไร และ พรภินันท์ สกุลธาร. (2550). ความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของสารอาหารหลัก (NPK)
           กับอายุใบในพรรณไม้ป่าเบญพรรณและป่าดิบแล้ง ท้องที่อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.