Creative Commons License
  • การประเมินศักยภาพทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้

  • Assessment of forest - based recreation resource potential

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Architecture and Engineering and Natural Resources and Environment

  • 45

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2550

  • นิทัศน์ นุ่นสง
    นภวรรณ ฐานะกาญจน์
    วันชัย อรุณประภารัตน์
    อุทิศ กุฏอินทร์

  • 978-974-537-999-2

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 675-682

  • 902 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • P01-การอนุรักษ์ธรรมชาติ/ที่ดิน

  • การประเมินผล;ทรัพยากรธรรมชาติ;นันทนาการ;พื้นที่นันทนาการ;ป่า;การสำรวจ;การวิเคราะห์ข้อมูล;ลักษณะภูมิสัณฐาน

  • Evaluation;Natural resources;Recreation;Recreational areas;Forests;Surveying;Data analysis;Physiographic features

  • การประเมิน;ทรัพยากรนันทนาการ;ฐานป่าไม้;การสำรวจ;การวิเคราะห์;ลักษณะทางชีวกายภาพ;เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

  • การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและวิเคราะห์ลักษณะทางชีวกายภาพ และเพื่อประเมินศักยภาพของทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้ประเภทเส้นทางศึกษาธรรมชาติและน้ำตก โดยการสุ่มเลือกพื้นที่ตัวอย่างแบบเจาะจง ตัวชี้วัดในการศึกษาประกอบด้วย 10 กลุ่มตัวชี้วัด ได้แก่ ความโดดเด่นของสังคมพืช โอกาสในการพบเห็นสัตว์ป่า ความโดดเด่นทางกายภาพของฐานทรัพยากร คุณภาพด้านทัศนียภาพของภูมิทัศน์ นัยสำคัญต่อการสื่อความหมาย ความเหมาะสมของทรัพยากรต่อการประกอบกิจกรรมนันทนาการ ความคงทนของสภาพแวดล้อมที่จะรองรับการใช้ประโยชน์โดยยังคงลักษณะเดิมของระบบนิเวศ ความเชื่อมโยงกับแหล่งนันทนาการอื่น ความปลอดภัยและภูมิอากาศ รวม 31 ตัวชี้วัดย่อย ทำการเก็บข้อมูลซ้ำ 3 ครั้งใน 1 ปี ใน 14 ตัวชี้วัด และใช้สมการถ่วงน้ำหนักอย่างง่ายในการประเมินระดับศักยภาพของทรัพยากรนันทนาการ ผลการศึกษา พบว่า เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปานมีศักยภาพอยู่ในระดับสูงมาก โดยมีคะแนนศักยภาพ 3.7490 เส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม.33 - หนองผักชีและเส้นทางศึกษาธรรมชาติน้ำตกกรุงชิงมีศักยภาพอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนศักยภาพ 3.3266 และ 3.2482 ตามลำดับ และเส้นทางศึกษาธรรมชาติแค้มป์บ้านกร่างมีศักยภาพอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีคะแนนศักยภาพ 2.7635 ส่วนแหล่งนันทนาการประเภทน้ำตก พบว่า มีศักยภาพอยู่ในระดับสูงทั้ง 4 แหล่ง โดยน้ำตกกะโรมมีคะแนนศักยภาพสูงสุด 3.4282 รองลงมาคือ น้ำตกแม่ยะ น้ำตกเหวนรก และน้ำตกป่าละอู โดยมีคะแนนศักยภาพ 3.2025, 3.1610 และ 3.1054 ตามลำดับ

  • Objectives of this study were to conduct inventories on bio-physical characteristics and to assess recreation resource potential forest-based recreation. Purposive sampling was used to select the study sites. The inventories were based on 10 groups of indicators including distinctiveness of plant community, opportunity for wildlife sighting, physical uniqueness of key resource, scenic quality of landscape, significance for resource interpretation, suitability for certain type of recreation activity, site resistance, connection of the site to others, safety, and climate. The total number of potential indicators was 31. The inventories were done in one with three replicated measurements for 14 indicators. Simple weighted score equation was used to assess recreation resource potential level. The study found that Kaew Mae Pan Nature Trail had a very high resource potential score of 3.7490. While Km. 33-Nong Pak Chi Nature Trail and Krung Ching Nature Trail had high potential scores of 3.3266 and 3.2482 respectively and Ban Krang Camp Nature Trail had moderate potential score of 2.736. All the four waterfalls had high potential scores. The highest score of 3.4282 went to Karom Waterfall. The others were Mae Ya Waterfall, Heaw Narok Waterfall, and Pala-u Waterfall with the scores of 3.2025, 3.1610, and 3.1054 respectively.

  • [1] นิทัศน์ นุ่นสง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [2] นภวรรณ ฐานะกาญจน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [3] วันชัย อรุณประภารัตน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [4] อุทิศ กุฏอินทร์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)

  • [1] Nitas Nunsong (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [2] Noppawan Tanakanjana (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [3] Wanchai Arunpraparat (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [4] Utis Kutintara (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)

520 212

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

นิทัศน์ นุ่นสง และคนอื่นๆ. (2550). การประเมินศักยภาพทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


นิทัศน์ นุ่นสง และคนอื่นๆ. "การประเมินศักยภาพทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

นิทัศน์ นุ่นสง และคนอื่นๆ. (2550). การประเมินศักยภาพทรัพยากรนันทนาการฐานป่าไม้.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.