Creative Commons License
  • การจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนช่างเคี่ยน จังหวัดเชียงใหม่

  • Waste management at the household level in Chang Kian community, Chiang Mai

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Architecture and Engineering and Natural Resources and Environment

  • 45

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2550

  • พรพิมล วิกรัยพัฒน์

  • 978-974-537-999-2

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 623-632

  • 902 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • Q70-การแปรรูปวัสดุเหลือใช้เกษตร

  • E50-ชนบท

  • โครงการพัฒนา;การพัฒนาชุมชน;การจัดการของเสีย;การเรียนรู้;ชุมชน;การสัมภาษณ์;แบบสอบถาม;ครอบครัว

  • Development projects;Community development;Waste management;Learning;Communes;Interviews;Questionnaires;Households

  • การจัดการขยะ;ครัวเรือน;การสัมภาษณ์;แบบสอบถาม;การดำเนินโครงการ;การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม;เครือข่ายการเรียนรู้;ชุมชนช่างเคี่ยน;จ.เชียงใหม่

  • ผลจากการสำรวจข้อมูลในเบื้องต้นก่อนที่จะมีการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ พบว่า ชุมชนช่างเคี่ยน 3 จำนวนสามในสี่คิดว่าตนเองมีความรู้ในเรื่องการ จัดการขยะระดับปานกลาง การจัดเก็บขยะภายในครัวเรือนเกินกว่าสามในห้า แม่บ้านเป็นผู้ทำหน้าที่เก็บใส่ถุงแล้วนำไปทิ้งนอกบ้าน และขยะที่นำ ไปทิ้งเหล่านั้น จำนวนกว่าครึ่งไม่มีการคัดแยกขยะแต่อย่างใด ขณะเดียวกันเมื่อสำรวจความคิดเห็นพบว่ากลุ่มตัวอย่างจำนวนเกินกว่าครึ่งเห็นว่า ขยะทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและทุกคนควรร่วมรับผิดชอบ แต่ในขณะเดียวกันกลุ่มตัวอย่างก็ยังคิดว่าหน่วยงานของรัฐต้องเป็นหน่วยงาน หลักที่รับผิดชอบในการจัดการ อย่างไรก็ตามหลังจากการดำเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ ในการให้ความรู้การจัดทำแผนชุมชน การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน และการสร้างเครือข่ายร่วมกับชุมชนอื่นๆ โดยชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนพบว่า ผลจากการดำเนินโครงการและกิจกรรมดังกล่าว ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงพฤติกรรม กล่าวคือ สามารถช่วยลดปริมาณขยะที่ต้องกำจัดเฉลี่ยเดือนละ 16 ตัน และชุมชนยังเกิดการตื่นตัวใน ปัญหาที่เกิดจากขยะ เกิดการปฏิสัมพันธ์ในระหว่างกลุ่มภายในชุมชนมากขึ้น ส่งผลให้ชุมชนช่างเคี่ยน 3 ได้รับรางวัลชนะเลิศในการประกวดด้าน สิ่งแวดล้อมระหว่าง 12 ชุมชนในเขตเทศบาลช้างเผือกเกิดกลุ่มการทำงานด้านการจัดการขยะ โดยมีสมาชิกจำนวน 50 ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ ทำให้เกิดอาชีพเสริมและเกิดรายได้เฉลี่ยเดือนละ 4,000-6,000 บาท/ครัวเรือน สำหรับกลุ่มรับซื้อขยะภายในชุมชนมีเงินหมุนเวียนเฉลี่ยเดือนละ กว่า 100,000 บาท มีรายได้เข้ากลุ่มเฉลี่ยเดือนละกว่า 10,000 บาท นอกจากนี้ยังเกิดเครือข่ายการเรียนรู้และการทำงานขยายผลไปยังชุมชนใกล้ เคียง เช่น ชุมชนข่วงสิงห์ ชุมชนโชตนา ชุมชนสนสวย ชุมชนช้างเผือก เป็นต้น

  • Primary survey prior to the implementation of any activities found that three quarters of people in Chang Kian commune No.3 thought that they had some knowledge on the waste management at the household level. However, over three fifths of waste being put in black plastic bags and dumped outside the house compound. Over half of different types of waste are not sorted. When asked about their attitudes, over half of the people indicated that waste posed a environmental problem the which everyone must be responsible for. Moreover, the people felt that the governmental organizations must be the key factor in attacking the problem. After the implementation of projects and activities (Participatory training, planning for waste management, study trip and networking, etc) for waste management, the research showed that the community has changed significantly in terms of behavior and understanding the problems. The community has become more aware of waste related problems, and become more interested in interacting within the communing groups about the issue. Generally speaking, the research indicated that the campaign was successful in helping the community to reduce waste by up to 16 tones per month. This level of reduction meet the desired goal set by the government. As a result of this campaign and implemented of waste management, Chang Kian community has been awarded the best environmental friendly community' out of twelve communities in Chang Puak Municipality. A waste management group with fifty household members has emerged to run the project. Also, waste management has generated an extra income of over 4000-6000 baht per household for the community members. The waste management group now has over 100,000 baht working capital and generates over 10,000 baht monthly income for the group member.

  • [1] พรพิมล วิกรัยพัฒน์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ล้านนา) เชียงใหม่ คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว)

  • [1] Pornpimon Wikraipat (Rajamangala University of Technology (Lanna) Chiangmai, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Liberal Arts. Department of Tourism)

1,515 190

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

พรพิมล วิกรัยพัฒน์. (2550). การจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนช่างเคี่ยน จังหวัดเชียงใหม่.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


พรพิมล วิกรัยพัฒน์. "การจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนช่างเคี่ยน จังหวัดเชียงใหม่".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

พรพิมล วิกรัยพัฒน์. (2550). การจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนช่างเคี่ยน จังหวัดเชียงใหม่.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.