Creative Commons License
  • การสร้างแบบวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

  • Constructing a systematic attention test for scondary school students

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Education, Economics and Business Administration and Humanities and Social Sciences

  • 45

  • สาขาศึกษาศาสตร์

  • 2550

  • อาภา จันทรสกุล
    จิตตินันท์ บุญสถิรกุล

  • 978-974-537-998-5

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 82-89

  • 768 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • นักศึกษา;การศึกษาระดับมัธยม;วิธีการ;คุณภาพ

  • Students;Secondary education;Methods;Quality

  • การสร้าง;แบบวัดวิธีคิด;โยนิโสมนสิการ;นักเรียน;มัธยมศึกษา;วิธีการ;คุณภาพ;คะแนน

  • Systematic attention test;Secondary school student;Constructing;Systematic attention test;Scores

  • การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการที่เป็นแบบวัดมาตรฐานสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา การสร้างแบบวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการมีขั้นตอนดังนี้ ก.) ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ จากตำราต่างๆ โดยตำราหลักที่ศึกษาได้แก่งานนิพนธ์ของพระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺ โต) ข.) ศึกษาปัญหาร่วมสมัยที่นักเรียนประสบ แล้วนำมาสร้างเป็นสถานการณ์ให้นักเรียนตอบ รวมทั้งสิ้น 6 สถานการณ์ เพื่อวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 6 วิธีหลักดังต่อไปนี้ (1) วิธีคิดแบบแก้ปัญหา (2)วิธีคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก (3)วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้คุณค่าเทียม (4)วิธีคิดแบบเร้ากุศล (5)วิธีคิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา และ(6) วิธีคิดแบบจำแนกแจกแจง ค.) สำหรับการหาคุณภาพด้านความตรงของแบบวัดวิธีคิดฯนั้น ได้ให้ผู้เชี่ยวชาญ คือ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เป็นผู้ตรวจสอบความตรงตามโครงสร้างและความตรงตามเนื้อหา ส่วนค่าความเที่ยงใช้วิธีสอบซ้ำ ได้ค่าความเที่ยงของแบบวัดวิธีคิดฯ เท่ากับ 0.89 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัดเท่ากับ 0.48 สำหรับกลุ่มตัวอย่างมาตรฐานที่ใช้ในการหาคะแนนมาตรฐานที่เป็นนักเรียนจำนวน 1,000 คน ซึ่งอยู่ในช่วงอายุ 14-15 ปี จำนวน 500 คน และช่วงอายุ 16-17 ปี จำนวน 500 คน

  • Purpose of this study was to construct a systematic attention test as a standardized test for secondary school students. The processes for constructing the systematic attention test were: a) study about the systematic attention thinking from various texts and the main texts were the works of Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto). b) Study current problems that secondary school students face then combine all information to create six situations for students to respond to. The six situations would measure six types of systematic attention thinking: (1) thinking according to the problem solving method, (2) reflecting on the worth, the harm and the escape, (3) reflecting on true and false value, (4) reflecting as a means for stimulating virtues, (5) thinking by knowing the common characteristics (6) thinking by way of analytical reflection and reasoned attention. c). The construct validity and the content validity of the systematic attention test was evaluated by the expertise, Phra Brahmagunabhorn (P.A. Payutto),and the reliability of the test was measured by using test-retest method. The reliability of the test was 0.89 and standard error of measurement for the test was 0.48. The sample group which were used to measure standard scores were 1,000 secondary school student divided into age groups including 14-15 years old : 500 students, 16-17 years old : 500 students.

  • [1] อาภา จันทรสกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว)
    [2] จิตตินันท์ บุญสถิรกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว)

  • [1] Apa Chantharasakul (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Education. Department of Educational Psychology and Guidance)
    [2] Jittinun Boonsathirakul (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Education. Department of Educational Psychology and Guidance)

298 168

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อาภา จันทรสกุล และ จิตตินันท์ บุญสถิรกุล. (2550).
           การสร้างแบบวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


อาภา จันทรสกุล และ จิตตินันท์ บุญสถิรกุล.
           "การสร้างแบบวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2550.

อาภา จันทรสกุล และ จิตตินันท์ บุญสถิรกุล. (2550).
           การสร้างแบบวัดวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.