-
การใช้อนุพันธ์พิวรีนในปัสสาวะเป็นดัชนีวัดปริมาณของจุลินทรีย์ไนโตรเจนจากกระเพาะหมักในโคบราห์มันที่ให้อาหารแบบต่างๆ
-
Use of urinary excretion of purine metabolites as an index of microbial nitrogen from the rumen in brahman cattle (Bos indicus) fed with different diets
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 : สาขาสัตว์ สาขาสัตวแพทยศาสตร์
-
Proceedings of 44th Kasetsart University Annual Conference : Animal, Veterinary Medicine
-
44
-
สาขาสัตว์
-
2549
-
ทองสุข เจตนา
สังวร อยู่สว่าง
ศิริมา ทองรวย
เกรียงศักดิ์ ทาศรีภู
วรรณวิภา สุทธิไกร
ราตรี จินตนา
จีระพัฒน์ วงศ์พิพัฒน์
สุริยา กิจสำเร็จ
สรรเพชญ โสภณ
-
974-537-826-7
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44
-
กรุงเทพฯ
-
30 ม.ค. -2 ก.พ. 2549
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 18-28
-
586 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
L51-โภชนาศาสตร์สัตว์
-
L02-อาหารสัตว์
-
โค;จุลินทรีย์;ไนโตรเจน;กระเพาะขอบกระด้ง;การให้อาหาร;พิวรีน;ปัสสาวะ;สับปะรด;ฟางข้าว;Digitaria decumbens;หญ้าแห้ง;Vetiveria
-
Cattle;Microorganisms;Nitrogen;Rumen;Feeding;Purines;Urine;Pineapples;Rice straw;Digitaria decumbens;Hay;Vetiveria
-
โค;จุลินทรีย์ไนโตรเจน;กระเพาะหมัก;การให้อาหาร;พันธุ์บราห์มัน;อนุพันธ์พิวรีน;ปัสสาวะ;สมการทางคณิตศาสตร์;การคำนวณ
-
สามการทดลองในโคบราห์มันที่ให้อาหารแบบต่างๆ กัน นำมาศึกษาเพื่อวัดปริมาณจุลินทรีย์ไนโตรเจนจากกระเพาะหมักโดยใช้สมการความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณอนุพันธ์พิวรีนในปัสสาวะกับปริมาณพิวรีนจากจุลินทรีย์ที่ดูดซึมบริเวณลำไส้เล็กที่พัฒนาในประเทศเขตหนาว รวมทั้งเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลผลิตของ จุลินทรีย์ต่อปริมาณอาหารที่บริโภคจากสามแบบของการให้อาหาร ผลการทดลอง แสดงให้เห็นว่าสมการคณิตศาสตร์ที่พัฒนาสำหรับโคประเทศเขตหนาวที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้คำนวณปริมาณจุลินทรีย์ไนโตรเจนได้ดีและพบว่าประสิทธิภาพของปริมาณจุลินทรีย์ไนโตรเจน (g MN) ต่อปริมาณวัตถุแห้งที่บริโภค (kg DMI) เพิ่มขึ้นตามปริมาณไนโตรเจนในอาหารที่บริโภค (N content) อย่างไรก็ดีประสิทธิภาพของปริมาณจุลินทรีย์ไนโตรเจน (g MN)ต่อปริมาณไนโตรเจนที่บริโภค (g N intake) สูงขึ้นในโคที่มีปริมาณอาหารที่ย่อยได้ลดลง สรุปว่า ประสิทธิภาพของปริมาณจุลินทรีย์ไนโตรเจน (g MN) ต่อปริมาณวัตถุแห้งที่บริโภค (kg DMI) ขึ้นอยู่กับคุณภาพของอาหาร
-
Three experiments in Brahman cattle fed with different types of diets, the experiments were conducted to determine microbial nitrogen production from the rumen by using the equation of the relationship between urinary purine derivatives excretion and microbial purines absorption at small intestine which was developed in the temperate. In addition, the efficiency of microbial nitrogen production to nutrient intake on different types of diets were compared among three experiments. The results demonstrated that mathematical equation that was developed in the temperate can be used well to calculate the microbial nitrogen production, and the efficiency of microbial nitrogen production (g MN) to dry matter intake (kg DMI) increased when the N content of diet increased. However, the efficiency of microbial nitrogen production (g MN) to N intake (g N) increased when digestible DMI (kg) in cattle decreased. In conclusion, the efficiency of microbial nitrogen production (g MN) to DMI (kg DMI) depended on the quality of diet.
-
[1] ทองสุข เจตนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[2] สังวร อยู่สว่าง (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[3] ศิริมา ทองรวย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[4] เกรียงศักดิ์ ทาศรีภู (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[5] วรรณวิภา สุทธิไกร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[6] ราตรี จินตนา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[7] จีระพัฒน์ วงศ์พิพัฒน์ (กรมปศุสัตว์ กองอาหารสัตว์ กลุ่มวิเคราะห์อาหารสัตว์และพืชอาหารสัตว์)
[8] สุริยา กิจสำเร็จ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสัตวแพทยศาสตร์)
[9] สรรเพชญ โสภณ
-
[1] Thongsuk Jetana (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
[2] Sungworn Usawang (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
[3] Sirima Thongruay (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
[4] Kriengsak Tasripoo (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
[5] Wanvipa Suthikrai (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
[6] Ratree Jintana (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
[7] Chirapath Vongpipatana (Department of Livestock Development, Bangkok (Thailand). Division of Animal Nutrition. Feed and Forage Analysis Section)
[8] Suriya Kitsamraj (SK Ranch Pattaya, Chon Buri (Thailand))
[9] Sunpetch Sophon (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Sciences)
ทองสุข เจตนา และคนอื่นๆ. (2549).
การใช้อนุพันธ์พิวรีนในปัสสาวะเป็นดัชนีวัดปริมาณของจุลินทรีย์ไนโตรเจนจากกระเพาะหมักในโคบราห์มันที่ให้อาหารแบบต่างๆ.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
ทองสุข เจตนา และคนอื่นๆ.
"การใช้อนุพันธ์พิวรีนในปัสสาวะเป็นดัชนีวัดปริมาณของจุลินทรีย์ไนโตรเจนจากกระเพาะหมักในโคบราห์มันที่ให้อาหารแบบต่างๆ".
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
2549.
ทองสุข เจตนา และคนอื่นๆ. (2549).
การใช้อนุพันธ์พิวรีนในปัสสาวะเป็นดัชนีวัดปริมาณของจุลินทรีย์ไนโตรเจนจากกระเพาะหมักในโคบราห์มันที่ให้อาหารแบบต่างๆ.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.