Creative Commons License
  • การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียแบบชั้นตัวกลางอัดบรรจุไร้อากาศ

  • Increasing efficiency of anaerobic packed-bed by filter media

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference : Engineering, Architecture

  • 43

  • สาขาวิศวกรรมศาสตร์

  • 2548

  • สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์

  • 974-537-639-6

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 38-45

  • 476 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • โรงอาหาร;ระบบบำบัดน้ำเสีย;ระบบชั้นตัวกลางอัดบรรจุไร้อากาศ;การบำบัดน้ำเสีย;ประสิทธิภาพ

  • ANAEROBIC REACTOR;PACKED BED FILTER MEDIA;CAFETARIA WASTEWATER;EFFICIENCY;BOD

  • ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงอาหารกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้วยระบบไร้อากาศสามารถเพิ่มขึ้นได้โดยการใช้ตัวกลางเป็นที่ยึดเกาะของเมือกจุลินทรีย์ น้ำเสียที่เข้าสู่ระบบ มีค่า BOD ระหว่าง 430-1190 มก./ลิตร ค่าภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 3.27-6.41 กรัม BOD/ตร.ม./วัน ที่ระยะเวลาเก็บกัก 1,2 และ 3 วัน ที่ระยะเวลาเก็บกักและภาระบรรทุกสารอินทรีย์ต่างๆ กัน พบว่า ถังปฏิกิริยา anaerobic packed bed มีประสิทธิภาพสูงสุดที่ระยะเวลาเก็บกัก 3 วัน ภาระบรรทุกสารอินทรีย์เฉลี่ย 3.27 กรัม BOD/ตร.ม./วัน ลดค่า BOD ได้ถึง 75.03 เปอร์เซ็นต์ หลังจากน้ำเสียผ่านถังปฏิกิริยา anaerobic packed bed แล้วไหลเข้าสู่ถังเติมอากาศที่มีค่า DO 3.60 มก./ลิตร จะได้น้ำทิ้งมีค่า BOD เฉลี่ย 138.38 มก./ลิตร คิดเป็นประสิทธิภาพรวมของระบบเท่ากับ 85.97 เปอร์เซ็นต์ ระบบชั้นตัวกรองอัดบรรจุไร้อากาศให้ประสิทธิภาพในการบำบัดค่อนข้างสูง และเป็นระบบที่ประหยัดค่าใช้จ่ายในการบำบัดเมื่อเทียบกับระบบที่ใช้อากาศ

  • Efficiency of anaerobic reactor was increased by using packed bed filter media to treat cafeteria wastewater of Kasetsart University. The values of BOD were between 430-1,190 mg/l of BOD. The performances were conducted by varying organic loading from 3.27-6.41 g-BOD/square m/d with the hydraulic detention times of 1, 2 and 3 days. The optimum parameters were organic loading 3.27 g-BOD/square m/d with the hydraulic detention time of 3 days to achieve high BOD removal of 75.03 percent. The average effluent BOD from anaerobic packed bed reactor, followed by the aeration tank that had DO 3.60 mg/l, was 138.38 mg/l. Therefore, the total efficiency was 85.97 percent. Anaerobic packed bed reactor had high BOD removal efficiency and less operation cost than aerobic treatment process.

  • [1] สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)

  • [1] Suthep Sirivitayapakorn (Kasetsart Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Engineering. Department of Environmental Engineering)

176 136

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์. (2548). การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียแบบชั้นตัวกลางอัดบรรจุไร้อากาศ
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์. "การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียแบบชั้นตัวกลางอัดบรรจุไร้อากาศ".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2548.

สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์. (2548). การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียแบบชั้นตัวกลางอัดบรรจุไร้อากาศ
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.