-
การถอนงาช้างที่ติดเชื้อในช้างเอเชีย
-
Tusk extraction in infected Asian elephant tusk
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์
-
Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference : Veterinary Medicine, Science
-
43
-
สาขาสัตวแพทย์
-
2548
-
ฉัตรโชติ ทิตาราม
พรสวรรค์ พงษ์โสภาวิจิตร
ตุลยวรรธ สุทธิแพทย์
วรุตม์ วงศ์กาฬสินธุ์
เฉลิมชาติ สมเกิด
ปฐวี คงขุนเทียน
นพวงศ์ ลือวิฑูรเวชกิจ
ภูมิศักดิ์ เลาวกุล
ทวีโภค อังควานิช
-
974-537-591-8
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43
-
กรุงเทพฯ
-
1-4 ก.พ. 2548
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 73-81
-
592 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
L70-สัตวแพทยศาสตร์
-
L73-โรคสัตว์
-
ช้างอินเดีย;การติดเชื้อ;การผ่าตัด;การควบคุมโรค
-
Indian elephant;Infection;Surgical operations;Disease control
-
ช้างเอเชีย;การถอนงาช้าง;การติดเชื้อ;โพรงงา;การรักษา
-
Asian elephant;Elephas maximus
-
ช้างเอเชีย เพศผู้ อายุ 48 ปี มีปัญหาการติดเชื้อในโพรงงาตั้งแต่ปี 2542 โดยลักษณะงาที่ถูกตัดลึกจนถึงโพรงงา มีหนองไหลออกจากโพรงงาจำนวนมากทุกวัน และเกิดการโยกคลอน ควาญช้างทำการรักษาโดยล้างด้วยน้ำประปาภูเขาทุกวันแต่อาการไม่ดีขึ้น จึงทำการเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อตรวจสุขภาพช้างและเก็บตัวอย่างหนองเพื่อเพาะเชื้อแบคทีเรียทั้งชนิดที่ใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนทุกครั้งก่อนการรักษา หาความไวของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะเพื่อเลือกใช้ยาที่เหมาะสม ล้างโพรงงาด้วยน้ำยาโพวิโดนไอโอดีนเจือจาง 1 เปอร์เซ็นต์ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.9 เปอร์เซ็นต์ แล้วทำการทายาปฏิชีวนะชนิดครีมที่บริเวณเนื้อเยื่อ อุดด้วยสำลีพันผ้าก๊อซที่ปราศจากเชื้อปิดรูโพรงงาด้วยปูนปลาสเตอร์ ติดตามผลการรักษาโพรงงาทุก 2 เดือนเป็นอย่างน้อย แต่เนื่องจากเกิดการตายของเนื้อเยื่อในโพรงงา และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบริเวณรอบงา ส่งผลให้งาโยกคลอน นานกว่า 1 ปี ไม่ประสบความสำเร็จในการรักษางาไว้จึงตัดสินใจถอนงาข้างซ้าย วางยาซึมด้วยไซลาซีนโฮโดรคลอไรด์เข้าเส้นเลือดดำ และให้ลิโดเคนความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ ฉีดรอบบริเวณโคนงาที่ใต้ตา พันรอบโคนงาด้วยเทปผ้าพันแผลและจับยึดด้วยคีมล็อคให้แน่น บิดงาออกจากเบ้าในทิศทางเข้าหาตัวช้างพร้อมทั้งดึงโยกงา เพื่อทำลายเนื้อเยื้อที่ยึดติด จนกระทั่งตัวงาสามารถหลุดออกจากโพรงกระดูกได้ ล้างเนื้อเยื่อด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและน้ำเกลือล้างแผล ห้ามเลือดโดยใช้ผ้าก๊อสสะอาดอุดบริเวณโพรงงา ปัญหาการติดเชื้อที่โพรงงาหายไปและไม่มีผลแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยวิธีนี้
-
The 48 year-old male Asian elephant( Elephas maximus ) has had tusk infection problem since 1999. The tusk was cut to pulp cavity. The pus came out from the pulp everyday and the tusk was unstable. Mahout cleaned with daily tab water but the infection still occurred. The blood sample was collected to monitor the elephant health status and bacterial culture was performed both aerobic and anerobic bacteria every time before treatment. The bacterial sensitivity test was also used for choosing the appropriate antibiotic drug. The pulp was flushed with antiseptic solution, normal saline irrigation then topical with antibiotic paste for packing, sealed with plaster cement. The pulp was followed up by restorative at least every two months. Unfortunately, the pulp connective tissue was necrosis and tusk became unstable. The left tusk extraction was decided after unsuccessful treatment. The elephant was intravenously sedated with Xylazine HCl and local anesthesia by 2 percent Lidocain at infra orbital area around the tusk. The tusk was adhered with adhesive tape and griped with the tool to rotate the tusk. After clockwise circling and moved around, the tusk was aparted from the socket. The tissue was cleaned with antiseptic solution and normal saline, stopped bleeding with sterile gauze packing. The tusk infection was recovery soon without complication.
-
[1] ฉัตรโชติ ทิตาราม (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกช้างและสัตว์ป่า)
[2] พรสวรรค์ พงษ์โสภาวิจิตร (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกช้างและสัตว์ป่า)
[3] ตุลยวรรธ สุทธิแพทย์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกช้างและสัตว์ป่า)
[4] วรุตม์ วงศ์กาฬสินธุ์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกช้างและสัตว์ป่า)
[5] เฉลิมชาติ สมเกิด (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกช้างและสัตว์ป่า)
[6] ปฐวี คงขุนเทียน (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาทันตกรรมบูรณะ)
[7] นพวงศ์ ลือวิฑูรเวชกิจ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาทันตกรรมบูรณะ)
[8] ภูมิศักดิ์ เลาวกุล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาทันตกรรมบูรณะ)
[9] ทวีโภค อังควานิช (องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ สถาบันคชบาลแห่งชาติ ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย)
-
[1] Chatchote Thitaram (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine)
[2] Pornsawan Pongsopawijjit (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine)
[3] Tulyawat Suttipat (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine)
[4] Warut Wongkalasin (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine)
[5] Chaleamchat Somgird (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine)
[6] Pathawee KongKhuntien (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Dentistry)
[7] Nopawong Luewitunwetchakit (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Dentistry)
[8] Phumsak Laowakul (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Dentistry)
[9] Taweepoke Angkawanish (Forestry Industry Organization, Bangkok (Thailand). Forestry Industry Organization. Thai Elephant Conservation Center)
ฉัตรโชติ ทิตาราม และคนอื่นๆ. (2548). การถอนงาช้างที่ติดเชื้อในช้างเอเชีย. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
ฉัตรโชติ ทิตาราม และคนอื่นๆ. "การถอนงาช้างที่ติดเชื้อในช้างเอเชีย". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
2548.
ฉัตรโชติ ทิตาราม และคนอื่นๆ. (2548). การถอนงาช้างที่ติดเชื้อในช้างเอเชีย. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.