-
การสํารวจพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนและสบู่เหลวยับยั้งแบคทีเรีย
-
Consumer behavior survey on antibacterial soap bar and liquid soap
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคหกรรมศาสตร์
-
Proceedings of 42nd Kasetsart University Annual Conference: Education,Social Sciences,Humanities,Economics,Business Administration,Home Economics
-
42
-
สาขาบริหารธุรกิจ
-
2547
-
พงษ์ศิริ วินิจฉัย
วารุณี ธนะแพสย์
นิธิวดี วงษ์เจริญ
พัสตราภรณ์ ห้วยศรีจันทร์
นงเยาว์ ชูสุข
-
974-537-434-2
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42
-
กรุงเทพฯ
-
3-6 ก.พ. 2547
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 389-398
-
484 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
สบู่ก้อน;สบู่เหลว;ผลิตภัณฑ์ยับยั้งแบคทีเรีย;ผู้บริโภค;พฤติกรรม;ทัศนคติ
-
Liquid soap;Antibacterial soap;Consumer behaviour;Attitude;Surveys
-
จากการสำรวจพบว่าผู้บริโภคในกลุ่มผลิตภัณฑ์สบู่เหลวยับยั้งแบคทีเรียส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 16-35 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้มากกว่า 10,000-40,000 บาท/เดือน ซึ่งจะใช้เฉพาะหลังการออกกำลังกายเหตุที่ใช้เพราะเชื่อว่าสามารถชำระล้างร่างกายได้หมดจด สามารถยับยั้งให้ปราศจากเชื้อระงับกลิ่นตัวได้ ยี่ห้อที่นิยมมากที่สุดคือ โพรเทคส์โดยผู้ใช้จะเป็นคนซื้อเอง เพื่อจะได้อ่านข้อความบนฉลาก ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ พบว่า กลิ่นหอมมีอิทธิพลต่อการจูงใจมากที่สุดอาบแล้วรู้สึกสะอาดและมีสารระงับกลิ่นกาย การส่งเสริมการขายที่พึงพอใจมากที่สุด คือ การลดราคาระดับราคาเฉลี่ยต่อขวดที่ได้รับความสนใจมากที่สุด สำหรับขนาด 200-250 กรัม คือ มากกว่า 50 บาท คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดในการพิจารณาคือ ต้องไม่ก่อให้เกิดอาการระคายเคือง มีความเชื่อและไม่แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์สามารถยับยั้งแบคทีเรียได้ และมีความคิดเห็นว่าถ้ามีการนำสารสกัดจากพืชสมุนไพรมาใช้น่าจะปลอดภัยกว่าการใช้สารสังเคราะห์และอยากจะทดลองใช้ถ้ามีการวางขายในท้องตลาดส่วนผู้บริโภคในกลุ่มผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนยับยั้งแบคทีเรียจะมีอายุระหว่าง 16-35 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ย 10,000-40,000 บาท/เดือน นิยมใช้สบู่ก้อนยับยั้งแบคทีเรียสลับกับสบู่ทั่ว ๆ ไป ยี่ห้อที่ใช้บ่อย คือ โพรเทคส์ ฮาร์โมนี และเซฟการ์ด แรงจูงใจที่ทำให้เกิดการใช้ เนื่องจาก ช่วยชำระล้างผิวกายและปกป้องผิวให้ปราศจากเชื้อแบคทีเรียได้ยาวนาน ส่วนใหญ่นิยมอ่านข้อความบนฉลากเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจซื้อ ซึ่งซื้อจากซุปเปอร์สโตร์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ พบว่าต้องมีส่วนประกอบของสารยับยั้งแบคทีเรียและระงับกลิ่นกาย ถ้ามีการโฆษณาผ่านสื่อโทรทัศน์จะทำให้อยากทดลองใช้ การส่งเสริมการขายที่พึงพอใจมาก คือ การลดราคา และจุดเด่นของสินค้า คุณสมบัติที่สําคัญในการพิจารณาคือต้องไม่ระคายเคือง มีประสิทธิภาพลดจำนวนเชื้อแบคทีเรียได้ มีทั้งเชื่อและไม่แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์สามารถยับยั้งแบคทีเรียได้ และเห็นว่าถ้าใช้สารสกัดจากสมุนไพรน่าจะปลอดภัยกว่าใช้สารสังเคราะห์และต้องการให้ผลิตภัณฑ์มีกลิ่นหอมของผลไม้และกลิ่นหอมสดชื่น โดยคงสีตามธรรมชาติของสารสกัดสมุนไพร
-
Today the claim trend to be only for cleansing effect but also used for skin moisturizer and antibacterial that cause skin infective antibacterial products are alternative product consumer. The objective of these research issue is consumer behavior in antibacterial liquid soap and bar soap. Target groups in these research are new generation in Bangkok and surrounding with heath concern. The interested topic are consumer behavior concern, consumer idea , product concern in liquid soap and bar soap. We were survey 250 liquid soap consumers and 300 bar soap consumers. We were collected data by questionnaire Survey internal from April to May in 2002. From collected data we founded that consumer between 16-35 year old in bachelor degree and had income 10,000-40,000 baht per month were a few used antibacterial liquid soap. They used after excising because they confidence in deep cleaning, moisture skin and deodorant effect. The most popular was Protex that consumer offend brought by themselves and read label before buying. The attribute of product that consumer interested in were product odor ,cleansing and deodorant respectively. The most effective market was more than 50 bath per 200-250 ml. Per bottle. The most consumer concern was skin irritation. Consumer were not sure about effectiveness of an antibacterial product. They confidence in safety of extract morn than synthetic. They would like to test if launch product. Consume surrey group in bar soap had ages between 16-35 year old graduated in bachelor degree average income more than 10,000-40,000 baht per month. They always after used antibacterial bar soap. The most popular three brand are Protex , Harmony and Safeguard. Consumer were concern in body cleansing ,long last skin protection against bacteria. They always read label before make a decision. They willing to buy product in superstore. Consumer interested in add bacteria resistance and deodorant ingredient. They would like to test product that advertise in T.V. The most effective market strategy was price decreasing and product claim. The most consumer concern was skin irritation and reduce bacteria. Consumer were not sure about effectiveness of an antibacterial product. They confidence in safety of extract morn than synthetic ones.
-
[1] พงษ์ศิริ วินิจฉัย (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร)
[2] วารุณี ธนะแพสย์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร)
[3] นิธิวดี วงษ์เจริญ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร)
[4] พัสตราภรณ์ ห้วยศรีจันทร์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร)
[5] นงเยาว์ ชูสุข (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์)
-
[1] Pongsiri Winitchai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute)
[2] Warunee Thanapase (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute)
[3] Nithiwadee Wongjaroen (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute)
[4] Pattraporn Houysrichun (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute)
[5] Nongyao Choosuk (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry. Department of Product Development)
พงษ์ศิริ วินิจฉัย และคนอื่นๆ. (2547).
การสํารวจพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนและสบู่เหลวยับยั้งแบคทีเรีย. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.
พงษ์ศิริ วินิจฉัย และคนอื่นๆ.
"การสํารวจพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนและสบู่เหลวยับยั้งแบคทีเรีย". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
. 2547.
พงษ์ศิริ วินิจฉัย และคนอื่นๆ. (2547).
การสํารวจพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนและสบู่เหลวยับยั้งแบคทีเรีย. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.