-
การใช้สื่อมวลชนเพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย
-
Mass media utilization for Thai culture rehabilitation
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคหกรรมศาสตร์
-
Proceedings of 42nd Kasetsart University Annual Conference: Education, Social Sciences, Humanities, Economics, Business Administration, Home Economics
-
42
-
สาขามนุษยศาสตร์
-
2547
-
974-537-434-2
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42
-
กรุงเทพฯ
-
3-6 ก.พ. 2547
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 456-462
-
484 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
วัฒนธรรมไทย;สื่อมวลชน;การฟื้นฟู
-
THAI CULTURE;MASS MEDIA;REHABILITATION
-
โทรทัศน์เป็นสื่อมวลชนชนิดหนึ่งที่มีการศึกษาว่าที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชนที่รับบริการข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิง โทรทัศน์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างมาก รายการโทรทัศน์บางรายการถูกมองว่ามีการนําเสนอเนื้อหาที่เป็นการบ่อนทําลายวัฒนธรรมอันดีงามของไทย การวิจัยเรื่อง การใช้สื่อมวลชนเพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย เป็นการวิจัยเชิงประยุกต์ (Applied Research) ใช้การวิเคราะห์และการประมวลผลการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยเลือกศึกษาเฉพาะสื่อโทรทัศน์ วิเคราะห์ถึงบทบาทหน้าที่ของโทรทัศน์ที่ส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมของไทย โดยใช้วิธีการศึกษารูปแบบและเนื้อหาของรายการโทรทัศน์ทุกประเภทที่ส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมไทย ประกอบกับการศึกษาสํารวจความคิดเห็นของผู้ชมโทรทัศน์ พบว่า โทรทัศน์มีบทบาทและอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทยทั้งด้านปรัชญาและพุทธศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี สังคมและภาษาไทย ตามลําดับ รายการที่มีบทบาทในการนําเสนอเนื้อหาที่ส่งผลกระทบมากที่สุด เรียงตามลําดับคือ รายการภาพยนตร์ต่างประเทศ ละครต่างประเทศ ละครไทยและมิวสิควิดีโอ โดยผลการศึกษาขั้นต้นนี้จะนําไปใช้ประกอบการฝึกอบรมผู้ผลิตรายการ ผู้ประกาศ พิธีกร และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ และนําเสนอต่อหน่วยงานที่มีหน้าที่บริหารงานวิทยุโทรทัศน์โดยตรง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันวางแผนปฏิบัติการใช้สื่อมวลชนเพื่อฟื้นฟูวัฒนธรรมไทยให้เป็นรูปธรรมต่อไป
-
Television as one of the main mass media which proved from several studies in its influences over the behavior change of people whom absorbed its information, knowledge, and entertainment. This media gained most popular from general public while some programs blamed for Thai culture destruction. The study of Mass Media Utilization for Thai Culture Rehabilitation focus on its role, program type, and contents by using both quantitative and qualitative analysis. The results found television media influenced on Thai culture both in philosophy, Buddhism, society, and Thai language accordingly. The most affected programs were foreign movie and soft opera followed by Thai soft opera and music video accordingly. These results would be used to design series of training courses for all relevant groups and agencies to have more effective action plans for Thai culture rehabilitation.
-
[1] พรทิพย์ เย็นจะบก
-
[1] Porntip yenjabok
พรทิพย์ เย็นจะบก. (2547). การใช้สื่อมวลชนเพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.
พรทิพย์ เย็นจะบก. "การใช้สื่อมวลชนเพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย". กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
. 2547.
พรทิพย์ เย็นจะบก. (2547). การใช้สื่อมวลชนเพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.