-
การศึกษาปัญหาและความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบ e-learning ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาช่างอุตสาหการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
-
Study of problem and requirement onlLearning and teaching by E-learning in industrial technical curriculum of Diploma in Industrial Technical in Rajamangala Institute of Technology
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคหกรรมศาสตร์
-
Proceedings of 42nd Kasetsart University Annual Conference: Education,Social Sciences,Humanities,Economics,Business Administration,Home Economics
-
42
-
สาขาศึกษาศาสตร์
-
2547
-
974-537-434-2
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42
-
กรุงเทพฯ
-
3-6 ก.พ. 2547
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 75-82
-
484 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์;ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง;สาขาช่างอุตสาหการ;สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
-
E-LEARNING;TEACHING;INDUSTRIAL TECHNICAL CURRICULUM;DIPLOMA;RAJAMANGALA INSTITUTE OF TECHNOLOGY
-
โครงงานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสถานะภาพของเรียนการสอนในรูปแบบ e-learning ตามหลักสูตรช่างอุตสาหการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลและศึกษาปัญหาและความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบ e - Learning มาใช้ตามหลักสูตรช่างอุตสาหการ ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ อาจารย์ผู้สอนที่ทําการสอนในระดับวิชาชีพชั้นสูง (ป.ว.ส.) สาขาช่างอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลทั่วประเทศ โดยมี 12 วิทยาเขต 11 สาขาวิชา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถามโดยแบ่งเป็น 5 ตอน ผลการศึกษาพบว่าในการดําเนินการเรียนการสอน ในรูปแบบ e - learning ของสาขาช่างอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 12 วิทยาเขต มีปัญหาและความต้องการในการดําเนินการเรียนการสอนในรูปแบบ e - learning ที่ไม่แตกต่างกัน โดยด้านปัญหาที่เป็นปัญหามากที่สุดคือ ด้านงบประมาณ รองลงมาคือด้านการใช้งานด้านระบบเครือข่ายและด้านบุคลากรด้านสื่อการสอนตามลําดับในส่วนของความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบe-learning มากที่สุดคือด้านฝึกอบรมรองลงมาคือด้านการจัดการด้านสื่อการสอนและด้านงบประมาณ ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วพบว่า ด้านความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบe-learning ของ วิทยาเขตในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลที่ดําเนินการเรียนการสอนสาขาช่างอุตสาหการมีความคิดเห็นต่อปัญหาและความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบe-learningไม่แตกต่างกันซึ่งการ เรียนการสอนในรูปแบบe-learning นี้เป็นการเรียนการสอนที่จะมีแนวโน้มในการนํามาใช้ในอนาคตต่อไป
-
Objective of this research is to study the status of e-learning, and also its Problem and Requirement on learning and teaching by e-learning in Industrial Technical curriculum of Diploma in Industrial Technical in Rajamongala Institute of Technology. The samples studied are lecturers teaching in the high vocational level in the field of industrial engineering of Rajamongala Institute of Technology nationwide, comprising 12 campuses in 11 division of subjects. The tool used in this study is questionnaire, which is divided into 5 parts. According to the statistical analyses to find statistical values and percentage, no differences are found among all the twelve campuses of Rajamongala Institute of Technology in carrying out e-learning. The aspect causing problem most is budget, followed by that of application, network system, personnel, and teaching material respectively. For demand for e-learning, the highest is in the aspect of training, followed by that of management of teaching material and budget respectively. When considered as a whole in the area of demand for e-learning, the campuses providing learning and teaching in the field of industrial engineering hold no different opinions toward the problems of and demands for e-learning which is likely to be adopted as learning and teaching approach in the future.
-
[1] สันติรัฐ นันสะอาง (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหการ)
[2] สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศึกษาศาสตร์ โปรแกรมเทคโนโลยีทางการศึกษา)
-
[1] Santirat Nansaarng
[2] Supreeya Sriripattanakolkajorn (Srinakharinwirot Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Education. Education Technology Program)
สันติรัฐ นันสะอาง และ สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร. (2547). การศึกษาปัญหาและความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบ
e-learning ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาช่างอุตสาหการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.
สันติรัฐ นันสะอาง และ สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร. "การศึกษาปัญหาและความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบ e-learning
ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาช่างอุตสาหการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
. 2547.
สันติรัฐ นันสะอาง และ สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร. (2547). การศึกษาปัญหาและความต้องการในการเรียนการสอนในรูปแบบ
e-learning ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาช่างอุตสาหการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.