-
การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดปลากัดหม้อเพื่อการส่งออก
-
Study on potential of production and marketing of siamese fighting fish for exported
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์
-
Proceedings of 41th Kasetsart University Annual Conference: Education, Social Sciences, Economics, Business Administration, Home Economics, Humanities
-
41
-
สาขาบริหารธุรกิจ
-
2546
-
974-537-236-6
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
กระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41
-
กรุงเทพฯ
-
3-7 ก.พ. 2546
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 361-367
-
484 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
E16-เศรษฐศาสตร์การผลิต
-
M12-การเพาะเลี้ยง
-
E70-การค้า/การตลาด
-
ปลาสวยงาม;ความเป็นไปได้ทางการผลิต;การตลาด;สินค้าส่งออก;การผลิต;ต้นทุนในการผลิต;กำไร;ฟังค์ชั่นการผลิต
-
ORNAMENTAL FISHES;PRODUCTION POSSIBILITIES;MARKETING;EXPORTS;PRODUCTION;PRODUCTION COSTS;PROFIT;PRODUCTION FUNCTIONS
-
ปลากัดหม้อ;ศักยภาพการผลิต;การตลาด;การส่งออก;ต้นทุนการผลิต;ผลตอบแทน;ฟังก์ชั่นการผลิต
-
Siamese fighting fish;Marketing;Production
-
การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดปลากัดหม้อมีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบต้นทุนทางการผลิตและวิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุนต่อการส่งออกปลากัดหม้อ และวิเคราะห์ฟังก์ชั่นการผลิตของปลากัดหม้อที่เหมาะสม จากการศึกษาพบว่า ผู้เลี้ยงปลากัดหม้อมีอาชีพเป็นเกษตรกรร้อยละ 50.60 สาเหตุที่สนใจเลี้ยงเพราะมีรายได้ดี เลี้ยงง่าย ปลามีอัตราการรอดตายสูง ผู้เลี้ยงร้อยละ 45.60 มีประสบการณ์ในการเลี้ยงเป็นเวลาเฉลี่ย 9.74 ปี แหล่งน้ำที่ใช้เลี้ยงคือน้ำบาดาล การเพาะเลี้ยงปลากัดหม้อจะใช้เวลาเฉลี่ย 138.57 วันต่อรุ่น เนื่องจากผู้เลี้ยงเป็นผู้กำหนดราคาขายเองไม่มีความเสี่ยงในการลงทุนและไม่เสียเวลามาก อีกทั้งยังเป็นรายได้เสริมที่สำคัญ จึงมีโครงการที่จะเลี้ยงปลากัดหม้อต่อไปเรื่อย ๆ ร้อยละ 83.10 สำหรับผลการวิเคราะห์ด้านต้นทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงปลากัดหม้อปรากฏว่า มีต้นทุนในการผลิตเฉลี่ย 29,459.68 บาทต่อรุ่น ทำให้มีกำไรสุทธิเฉลี่ย 5,023.35 บาทต่อรุ่น ส่วนด้านการตลาดจะมีผู้มารับซื้อที่ฟาร์มโดยตรงถึงร้อยละ 96.70 ผู้เลี้ยงบางรายมีปัญหาและอุปสรรคในการเลี้ยงปลากัดหม้อเพราะขาดแคลนแหล่งอาหารจากธรรมชาติ ร้อยละ 32.20 อย่างไรก็ตาม มีเกษตรกรอยู่ประมาณร้อยละ 45.20 ต้องการความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากทางราชการ เพื่อหาตลาดให้ทั้งในและต่างประเทศ
-
Objectives of the study are : (1) to assess cost of production (2) to analyze the return of investment and (3) to estimate proper production function. From the study we found that 50.60 percent of Siamese fighting fish raisers were farmers. But 45.60percent of them decided to culture the fish because of their profit and easy culture. They had experience in culture for 9.74 years by average. Mostly, they invested by their own capital and using artesian well as a source of water. The average production period was 138.57 days/crop. The fish farmers set their own prices and took no risk and it took a short period of time. In addition, it is an important supplementary income. Therefore, 83.10 percent of fish farmers planned to continue their culture in the future. The result of the study of the cost and return on investment analysis showed that the average cost was 29,459.68 baht/crop, with net profit of 5,023.35 baht/crop. For the marketing, there had been 96.70 percent purchasers or agencies directly buying the fish at farms. However, 32.20 percent of the fish farmers faced the problems in production from lacking source of natural supplementary feed, and farmers of 45.20 percent needed assistance and support by the Fishery Department on account of looking the new markets both of the domestic and foreign ones.
-
[1] เสาวรีย์ ตะโพนทอง (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาบริหารธุรกิจเกษตร)
[2] นิตยา สิทธิโชค (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาบริหารธุรกิจเกษตร)
-
[1] Saowaree Taphontong (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agricultural Technology. Dept. of Agricultural Business Administration)
[2] Nittaya Sitheechoke (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agricultural Technology. Dept. of Agricultural Business Administration)
เสาวรีย์ ตะโพนทอง และ นิตยา สิทธิโชค. (2546). การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดปลากัดหม้อเพื่อการส่งออก.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
กระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
เสาวรีย์ ตะโพนทอง และ นิตยา สิทธิโชค. "การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดปลากัดหม้อเพื่อการส่งออก".
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
กระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
2546.
เสาวรีย์ ตะโพนทอง และ นิตยา สิทธิโชค. (2546). การศึกษาศักยภาพการผลิตและการตลาดปลากัดหม้อเพื่อการส่งออก.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
กระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.