Creative Commons License
  • การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม

  • Screening of microorganisms as probiotic for feeding giant freshwater prawn (Macrobrachium rosenbergii)

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาประมง สาขาอุตสาหกรรมเกษตร 5-7 กุมภาพันธ์ 2544

  • Proceedings of the 39th Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agro-Industry

  • 39

  • สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

  • 2544

  • วลัยพร ทิมบุญธรรม
    มังกร โรจน์ประภากร
    สุริยา สาสนรักกิจ
    เสรี เจริญกิจมงคล
    เปรมสุดา สมาน

  • 974-553-929-5

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39

  • กรุงเทพฯ

  • 5-7 ก.พ. 2544

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 370-377

  • 605 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L73-โรคสัตว์

  • Q55-สารเจือปนในอาหารสัตว์

  • M12-การเพาะเลี้ยง

  • เชื้อจุลินทรีย์;สารชีวภาพที่มีคุณภาพ;MACROBRACHIUM ROSENBERGII;การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ;การคัดเลือกพันธุ์;สภาวะตรงกันข้าม;ประสิทธิภาพ;การจำแนกหมวดหมู่

  • MICROORGANISMS;PROBIOTICS;MACROBRACHIUM ROSENBERGII;AQUACULTURE;SELECTION;ANTAGONISM;EFFICIENCY;CLASSIFICATION

  • จุลินทรีย์;โปรไบโอติก;กุ้งก้ามกราม;การเลี้ยง;การคัดเลือกเชื้อ;แหล่งธรรมชาติ;การยับยั้งการก่อโรค;ประสิทธิภาพ;คุณสมบัติของเชื้อ;การจำแนกชนิด

  • การศึกษาในครั้งนี้เป็นการคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติก เพื่อใช้ในการเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามที่แยกได้จากตัวอย่างลำไส้สัตว์น้ำจืด ไส้ไก่ มูลสุกร มูลวัว ผลิตภัณฑ์นม ผลิตภัณฑ์หมักดอง จากเนื้อสัตว์และผักต่าง ๆ สามารถแยกเชื้อได้ทั้งหมด 267 ไอโซเลท เป็นเชื้อที่ติดสีแกรมบวกจำนวน 178 ไอโซเลท และเมื่อนำเชื้อไปทดสอบการยับยั้งเชื้อก่อโรคในกุ้งก้ามกราม ได้แก่ Aeromonas sobria และ Vibrio alginolyticus พบว่าเชื้อที่เจริญบนอาหาร MRS จำนวน 54 ไอโซเลท มีความสามารถในการยับยั้งเชื้อก่อโรคในกุ้งก้ามกรามได้ จึงทำการทดสอบคุณสมบัติของเชื้อที่มีความเหมาะสมเพื่อใช้เป็นโปรไบโอติก โดยการทดสอบการย่อยเม็ดเลือดแดง การเจริญในความเข้มข้นของเกลือ (NaCl) 0-10 เปอร์เซ็นต์ (w/v) ความเข้มข้นเกลือน้ำดี 1-7 เปอร์เซ็นต์ (w/v) ความเป็นกรดด่างตั้งแต่ 2 ถึง 10 การเจริญในสภาพที่มีและไม่มีอากาศ พบว่า เชื้อแบคทีเรียรหัส LP64 LM64 LM67 LM62-1 LM66 และ LS15 มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติก ซึ่งจากการจำแนกเชื้อในระดับ species พบว่า เชื้อ LP64 และ LS15 เป็นเชื้อ Lactobacillus plantarum และเชื้อ LM64 LM67 LM62-1 และ LM66 เป็นเชื้อ Lactobacillus casei

  • Present experiment was conducted to screen microorganisms from animal intestine, such as aquaculture and chicken, swine sewage, cow sewage, dairy and fermented food. Two hundred and sixty seven microorganisms were isolated. There were 178 isolated were gram positive and only 54 isolates showed the inhibition zone to effect against the giant prawn pathogens namely Aeromonas sobria and Vibrio alginolyticus. The characterization of the microorganism as probiotic were tested by haemolysis test, salt tolerant, bile salt and range of pH from 2-10, aerobe and anaerobe conditions. Results showed that the effective microorganisms were LP64, LM64, LM67, LM62-1, LM66 and LS15. The identified microorganism by ApI50CHL found that LP64 and LS15 were Lactobacillus plantarum and LM64 LM67 LM62-1 and LM66 were Lactobacillus casei.

  • [1] วลัยพร ทิมบุญธรรม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ)
    [2] มังกร โรจน์ประภากร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ)
    [3] สุริยา สาสนรักกิจ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ)
    [4] เสรี เจริญกิจมงคล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [5] เปรมสุดา สมาน (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ)

  • [1] Walaiporn Timbuntam (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry. Department of Biotechnology)
    [2] Mangkorn Rodprapakorn (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry. Department of Biotechnology)
    [3] Suriya Sassanarakkit (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Biotechnology Laboratory)
    [4] Saeree Jareonkitmongkol (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
    [5] Premsuda Saman (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Biotechnology Laboratory)

773 152

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วลัยพร ทิมบุญธรรม และคนอื่นๆ. (2544).
           การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


วลัยพร ทิมบุญธรรม และคนอื่นๆ.
           "การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
           2544.

วลัยพร ทิมบุญธรรม และคนอื่นๆ. (2544).
           การคัดเลือกเชื้อจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นโปรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งก้ามกราม.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.