Creative Commons License
  • ผลกระทบของการยกเลิกการกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลืองของประเทศไทยต่อตลาดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ และตลาดเนื้อสัตว์: ศึกษาในเชิงสวัสดิการ

  • Impacts of free trade in soybean meal market on soybean industry and meat industry: Welfare approach

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ 3-5 กุมภาพันธ์ 2542

  • Proceedings of the 37th Kasetsart University annual conference: Agro-Industry, Home Economics, Education, Social Science, Humanities, Economics, Business Administration

  • 37

  • สาขาเศรษฐศาสตร์

  • 2542

  • ประชา คุณธรรมดี

  • 974-553-638-5

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37

  • กรุงเทพฯ

  • 3-5 ก.พ. 2542

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 319-327

  • 391 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E71-การค้าระหว่างประเทศ

  • SOYBEAN PRODUCTS;MEAT INDUSTRY;EGGS;TRADE LIBERALIZATION;THAILAND

  • ถั่วเหลือง;เนื้อสัตว์;ผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง;ไข่ไก่;ตลาดการค้าเสรี;การกีดกันทางการค้า;ตลาด;ผลกระทบ;การยกเลิก

  • จากการศึกษาพบว่า การกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลืองของประเทศไทย ทั้งในรูปของมาตรการทางภาษี และมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี ล้วนแต่สร้างผลประโยชน์ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลืองและฝ่ายโรงงานสกัดน้ำมันถั่วเหลือง ผลประโยชน์ดังกล่าว เป็นการบิดเบือนประสิทธิภาพทางการผลิตและการบริโภค ทั้งในตลาดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง และตลาดเนื้อสัตว์ ที่ต้องรับภาระต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น นอกจากนั้นผลกระทบยังส่งผ่านไปยังผู้บริโภคเนื้อสัตว์อีกด้วย หากไม่มีการกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลือง พบว่า ราคาของถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์จะลดลง ทำให้การผลิตในประเทศของถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์จะลดลง ในขณะที่การนำเข้าและการบริโภคถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น ในตลาดเนื้อสัตว์ต้นทุนที่ลดลงส่งผลให้มีการผลิตมากขึ้น ในตลาดเนื้อสุกรและไข่ไก่จะมีราคาลดลง หากพิจารณาในแง่สวัสดิการพบว่า การยกเลิกการกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลืองจะทำให้สวัสดิการของสังคมสูงขึ้นในทุกตลาดที่ทำการศึกษา (ตลาดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ ตลาดไก่เนื้อ ตลาดสุกร และตลาดไข่ไก่)

  • Findings indicate that the government interventions on soybean meal market such as tariff, quota with local content requirement, and surcharge create protection benefits to the soybean planters and oil refineries, while depress benefits of meat producer, consumers and society. The meat producers and consumers lose some benefit due to the higher cost and society loses in term of the dead weight loss or efficiency loss. The removal of interventions on soybean meal market would lead to a reduction in domestic production of soybean seed, soybean oil, and soybean meal. At the same time, the consumption and the import in these markets increase. The free trade in soybean meal market also causes expansion in meat production. The equilibrium prices of swine and eggs declined. The social welfare changes indicate the positive gain in each market (soybean and its product markets, broiler market, swine market, and egg market). It means that the efficiency is returned to six markets also. It is recommended that government policies concerning soybean meal need to be adjusted. Liberalization will benefit the industries, livestock production as well as consumers.

  • [1] ประชา คุณธรรมดี (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์)

  • [1] Pracha Koonnathamdee (Thammasat University, Bangkok (Thailand). Faculty of Economics)

195 161

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ประชา คุณธรรมดี. (2542).
           ผลกระทบของการยกเลิกการกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลืองของประเทศไทยต่อตลาดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์
           และตลาดเนื้อสัตว์: ศึกษาในเชิงสวัสดิการ
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


ประชา คุณธรรมดี.
           "ผลกระทบของการยกเลิกการกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลืองของประเทศไทยต่อตลาดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์
           และตลาดเนื้อสัตว์: ศึกษาในเชิงสวัสดิการ".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2542.

ประชา คุณธรรมดี. (2542).
           ผลกระทบของการยกเลิกการกีดกันทางการค้าในตลาดกากถั่วเหลืองของประเทศไทยต่อตลาดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์
           และตลาดเนื้อสัตว์: ศึกษาในเชิงสวัสดิการ
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.