-
โครงการวิจัยเพื่อปรับปรุงและส่งเสริมการใช้แท่งเชื้อเพลิงเขียว
-
Improvement and promotion of green fuel briquette use
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ 3-5 กุมภาพันธ์ 2542
-
Proceedings of the 37th Kasetsart University annual conference: Agro-Industry, Home Economics, Education, Social Science, Humanities, Economics, Business Administration
-
37
-
สาขาอุตสาหกรรมเกษตร
-
2542
-
974-553-638-5
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37
-
กรุงเทพฯ
-
3-5 ก.พ. 2542
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 24-29
-
391 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
Q70-การแปรรูปวัสดุเหลือใช้เกษตร
-
P06-พลังงานทดแทน
-
BIOFUELS;BAGASSE;COCONUTS;HUSKING;PRODUCTION;QUALITY
-
เชื้อเพลิงเขียว;ชานอ้อย;ขุยมะพร้าว;การผลิต;คุณภาพ
-
จากการนำชานอ้อยเน่าเปื่อย ซึ่งเป็นเศษวัสดุที่โรงงานน้ำตาลเหลือทิ้ง โดยนำมาผสมกับขุยมะพร้าวในอัตราส่วน ชานอ้อยเน่าเปื่อย : ขุยมะพร้าว 1:0, 1:1, 2:1, 3:1 และ 4:1 แล้วมาอัดโดยใช้เครื่องอัดแท่งเชื้อเพลิงเขียวที่มีสกรูเป็นส่วนสำคัญของเครื่องอัดแท่ง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 มม. ยาว 750 มม. และ Pitch ขนาด 50 มม. โดยสกรูจะขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2 แรงม้า (HP.) ใช้ไฟ 2 สาย 220 โวลท์ จะได้แท่งอัดเชื้อเพลิงเขียวออกมาจากกระบอกรีด จำนวน 25 กก. ต่อชั่วโมง สำหรับวัตถุดิบที่เป็นชานอ้อยเน่าเปื่อยล้วนๆ และ 60, 60, 45 และ 45 กก. ต่อชั่วโมง สำหรับชานอ้อยเน่าเปื่อยผสมกับขุยมะพร้าวในอัตราส่วน 1:1, 2:1, 3:1, และ 4:1 ตามลำดับ (น้ำหนักของแท่งเชื้อเพลิงเขียวที่แห้ง) โดยแท่งเชื้อเพลิงเขียวในอัตราส่วนต่างๆ เฉลี่ยจะให้ค่าความร้อนประมาณ 3,000 แคลอรี/กรัม ซึ่งใช้ต้มน้ำจะเดือดภายในเวลาประมาณ 18 นาที ความหนาแน่นของแท่งเชื้อเพลิงเขียวอยู่ระหว่าง 0.57-0.98 กรัม/ลบ.ซม. และสามารถนำไปเผาเป็นถ่านได้ ดังนั้น จึงเป็นแท่งเชื้อเพลิงเขียวที่มีราคาถูกและผลิตง่าย สามารถใช้แทนไม้ฟืนและถ่าน ซึ่งเป็นแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ได้อย่างดี
-
Green fuel briquette was prepared from low-pressure extruder or machine with the screw feeder of diameter 80 mm., length 750 mm. and pitch size 50 mm. The machine was run by electricity motor of 2 Horsepower and 220 volt. The raw material, for producing briquette is agricultural (industry) residues or fermented bagasse mixed with coconut husks by the proportion of 1:0, 1:1, 2:1, 3:1 and 4:1. The production rates of green fuel briquette are 25, 60, 60, 45 and 45 kg/h for the mixture of fermented bagasse : coconut husks are 1:0, 1:1, 2:1, 3:1 and 4:1 respectively. The heat value of briquette was prepared from all treatments 3,000 cal/g, which can be used for boiling water within 18 minutes. The density of briquette is between 0.57-0.98 g/cubic m. Because of high density, the briquette can be used as charcoal to replace of use wood charcoal from forest resources.
-
[1] ประลอง ดำรงค์ไทย (กรมป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ ส่วนวิจัยและพัฒนาผลิตผลป่าไม้ กลุ่มพัฒนาพลังงานจากไม้)
-
[1] Pralong Dumrongthai (Department of Royal Forest, Bangkok (Thailand). Forest Research Office. Wood Energy Research Sub-division)
ประลอง ดำรงค์ไทย. (2542). โครงการวิจัยเพื่อปรับปรุงและส่งเสริมการใช้แท่งเชื้อเพลิงเขียว. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
ประลอง ดำรงค์ไทย. "โครงการวิจัยเพื่อปรับปรุงและส่งเสริมการใช้แท่งเชื้อเพลิงเขียว". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2542.
ประลอง ดำรงค์ไทย. (2542). โครงการวิจัยเพื่อปรับปรุงและส่งเสริมการใช้แท่งเชื้อเพลิงเขียว. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.