Creative Commons License
  • การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (ที่ไม่ปลอดเชื้อจากการตรวจ พีซีอาร์) ด้วยระบบรีไซเคิ้ล

  • Culture of (Virus infected) penaeus monodon (Test by PCR technique) in recycle system

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 36: บทคัดย่อ 3-5 กุมภาพันธ์ 2541

  • Proceedings of the 36th Kasetsart University Annual Conference: Abstracts

  • 36

  • สาขาประมง

  • 2541

  • อนันต์ ตันสุตะพานิช
    ธนัญช์ สังกรธนกิจ
    สุพิศ ทองรอด
    เจริญ โอมณี

  • 974-553-431-5

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 36

  • กรุงเทพฯ

  • 3-5 ก.พ. 2541

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 110

  • 297 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M12-การเพาะเลี้ยง

  • L73-โรคสัตว์

  • PENAEUS MONODON;AQUACULTURE;VIRUSES;INFECTION;POLYMERASE CHAIN REACTION;SURVIVAL;GROWTH;YIELDS

  • กุ้งกุลาดำ;การเลี้ยงระบบรีไซเคิล;การตรวจวินิจฉัยโรค;เทคนิคพีซีอาร์;อัตราการรอดตาย;การเจริญเติบโต;ผลผลิต

  • เมื่อธุรกิจโรคสัตว์น้ำชี้นำ จนกระทั่งเกิดสภาวะตื่นตูม ทำให้พากันเข้าใจและตั้งความหวังไว้สูงมาก ว่าลูกกุ้งกุลาดำที่ใช้เทคนิคพีซีอาร์ตรวจวินิจฉัยเชื้อโรคเป้าหมายก่อนที่จะนำไปเลี้ยงในบ่อดิน และได้รับการระบุว่าปลอดเชื้อกุ้งที่เลี้ยงจะไม่ตาย ส่วนลูกกุ้งที่ตรวจวินิจฉัยแล้วได้รับการระบุว่าไม่ปลอดเชื้อ ก็จะถูกชี้นำให้พากันเข้าใจไปว่า เมื่อนำไปเลี้ยงในบ่อแล้วกุ้งที่เลี้ยงจะตาย แต่จากการทดลองครั้งนี้ซึ่งได้ใช้ลูกกุ้งที่ได้รับการระบุว่าไม่ปลอดเชื้อ กลับได้ผลตรงกันข้าม เพราะปรากฎว่าลูกกุ้งกุลาดำที่ผลการตรวจหาเชื้อโรคด้วยเทคนิคพีซีอาร์ แล้วได้รับการระบุว่าไม่ปลอดเชื้อไวรัสโรคหัวเหลือง และโรคตัวแดงจุดขาว เมื่อนำไปเลี้ยงในระบบรีไซเคิ้ล ในบ่อดินขนาด 1 ไร่ , 2 ไร่ และ 4 ไร่ รวม 3 บ่อ ในอัตราปล่อย 100,000 ตัว/ไร่ โดยใช้ระยะเวลาเลี้ยง 105, 110 และ 135 วัน ตามลำดับ มีอัตรารอดอยู่ระหว่าง 53.7-67.4 เปอร์เซ็นต์ (เฉลี่ย 59.9 เปอร์เซ็นต์) และขนาดกุ้งที่จับอยู่ระหว่าง 35-70 ตัว/กก. ได้ผลผลิตกุ้งทั้งหมด 8,050 กก. (เฉลี่ย 1,150 กก./ไร่) และอัตราแลกเปลี่ยนอาหารกลับเป็นเนื้อระหว่าง 1.55-1.62 เฉลี่ย 1.59 ผลจากการทดลองครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้เทคนิคพีซีอาร์ ตรวจวินิจฉัยโรคเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะระบุคุณภาพของลูกกุ้งได้

  • Since the PCR (Polymerase Chain Reaction) technique was introduced to detect virus infected postlarvae (PL), many farmers had paid a great deal on the postlarval quality. They were convinced to believe that viral-free postlarvae (screening by PCR technique) were strong and will not lead to the failure of shrimp farming. As a consequence of those convincing, many shrimp hatcheries were having difficult time selling their PL when PL samples were found virus infection. This study was aimed to test whether those virus infected shrimp PL can be cultured in the recycle system. Virus infected postlarvae of Penaeus monodon were stocked into 3 earthen ponds, 1600, 3200 and 6400 square m at the stocking rate of 100,000 shrimp/1600 square m. The period of culture was 135, 105 and 110 days, respectively. Survival rate was varied between 53.7-67.4 percent with the total yield of 8,050 kg (average 1,150 kg/160 square m) and shrimp size at harvest was between 35-70 tails/kg. Result of this study revealed that only PCR test for virus infection cannot verify the quality of PL.

  • [1] อนันต์ ตันสุตะพานิช (กรมประมง สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี)
    [2] ธนัญช์ สังกรธนกิจ (กรมประมง สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี)
    [3] สุพิศ ทองรอด (กรมประมง สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี)
    [4] เจริญ โอมณี (กรมประมง สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี)

  • [1] Anand Tunsutapanich (Department of Fisheries, Bangkok (Thailand). Phetchaburi Coastal Aquaculture Station)
    [2] Tanan Sanggontanagit (Department of Fisheries, Bangkok (Thailand). Phetchaburi Coastal Aquaculture Station)
    [3] Supis Thongrod (Department of Fisheries, Bangkok (Thailand). Phetchaburi Coastal Aquaculture Station)
    [4] Charoen Omanee (Department of Fisheries, Bangkok (Thailand). Phetchaburi Coastal Aquaculture Station)

145 114

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อนันต์ ตันสุตะพานิช และคนอื่นๆ. (2541). การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (ที่ไม่ปลอดเชื้อจากการตรวจ พีซีอาร์)
           ด้วยระบบรีไซเคิ้ล
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


อนันต์ ตันสุตะพานิช และคนอื่นๆ. "การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (ที่ไม่ปลอดเชื้อจากการตรวจ พีซีอาร์)
           ด้วยระบบรีไซเคิ้ล".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2541.

อนันต์ ตันสุตะพานิช และคนอื่นๆ. (2541). การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (ที่ไม่ปลอดเชื้อจากการตรวจ พีซีอาร์)
           ด้วยระบบรีไซเคิ้ล
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.