Creative Commons License
  • การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: ยุทธวิธีทางเลือกเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของสตรีชนบทในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชน

  • Collaborative action research: Alternative methodology to increase the collaboration of rural women in the decision making process in community development

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 34 สาขาวิทยาศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร, คหกรรมศาสตร์, การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม, ศึกษาศาสตร์, สังคมศาสตร์, เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ 30 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2539

  • Proceedings of the 34th Kasetsart University Annual Conference: Science, Engineering, Agro-Industry, Home Economics, Resource and Environment Management, Education, Social Science, Economics and Business Administration

  • 34

  • สาขาสังคมศาสตร์

  • 2539

  • อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ

  • 974-553-261-4

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 34

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-1 ก.พ. 2539

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 445-454

  • 545 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E50-ชนบท

  • WOMEN;COMMUNITY DEVELOPMENT;ROLE OF WOMEN;DECISION MAKING

  • สตรีชนบท;การพัฒนาชุมชน;การตัดสินใจ;การมีส่วนร่วม;กิจกรรม

  • การวิจัยนี้เป็นการติดตามผล (follow-up) ของการประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Collaborative Action Research) ระหว่างนักวิจัยกับชาวบ้านยากจนในหมู่บ้านสันคะยอม ตำบลป่าสัก อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ระหว่างเดือนมกราคม 2535-กรกฎาคม 2536 ผลการติดตามผลพบว่าหลังจากที่นักวิจัยออกจากหมู่บ้านสันคะยอมในปี 2536 กลุ่มชาวบ้านอันได้แก่ทีมงานหลัก (core team) กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มหนุ่มสาว คณะกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน คณะกรรมการของโครงการเลี้ยงหมู โครงการจักสาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ยังคงดำเนินกิจกรรมที่ได้ริเริ่มไว้เมื่อสองปีที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันกลุ่มชาวบ้านเหล่านี้ได้ขยายกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของกลุ่มและแก้ไขปัญหาของหมู่บ้านโดยส่วนรวม กลุ่มต่างๆ ดังกล่าวยังคงประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกล่าวคือเน้นการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจในทุกขั้นตอนการวางแผน (planning) เพื่อพัฒนาวิธีการปฏิบัติ (practice) การปฏิบัติ (action) ตามแผน การสังเกต (observation) วิธีการปฏิบัติและผลของการปฏิบัติ และการสะท้อนความคิดเห็นอย่างมีวิจารณญาณ (critical reflection) ต่อวิธีการปฏิบัติและผลของการปฏิบัติ โดยกระทำเป็นวงจรต่อเนื่อง ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมนี้สตรีในหมู่บ้านสันคะยอมมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และได้พัฒนาความสามารถ ทักษะและความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหาไปในทิศทางที่ตอบสนองความสนใจและความต้องการของสตรีมากขึ้น สตรีได้ร่วมกำหนดทิศทางของการพัฒนาหมู่บ้าน ขณะเดียวกันสตรีได้เรียนรู้วิธีการสนับสนุน (facilitate) ให้ชาวบ้านรวมตัวกันเป็นกลุ่มและมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ กิจกรรมและการเปลี่ยนแปลงที่ได้กระทำอย่างต่อเนื่องทำให้ชาวบ้านให้ความร่วมมือ ยังผลให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในหมู่บ้าน

  • This study is the follow-up of the application of the collaborative action research with poor villagers in Mooban Sankayom, Tambon Pasak, Amphoe Muang, Changwat Lamphun during January 1992 and May 1993. It was found that after the researcher has left Mooban Sunkayom, villagers who voluntarily formed into various groups and initiated many activities have continued and expanded activities that serve villager's needs and the Mooban as a whole. These groups include the core team, klum maeban, klum noom sao, village development committee, the committee of pig-keeping project, bamboo weaving project and of the child care centre. All groups continue employing a collaborative action research which allows the participants collaborate in the continuous process of planning to improve current practice, action to implement the action plan, observation of effects, and critical reflection towards practice as a prelude to further planning. Under this collaborative process, as the decision makers women could develop their capacity, skills and confidence in solving facing problems in a way that serves their interest and needs. Sankayom women have empowered themselves and collaborated in control the direction of village development Sankayom women have also learned to be the facilitators who facilitated other villagers to work as a group and collaborate in the decision making process.

  • [1] อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาเทคนิคเกษตร)

  • [1] Avorn Opatpatanakit (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agricultural Technology. Department of Agricultural Technique)

455 390

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ. (2539). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม:
           ยุทธวิธีทางเลือกเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของสตรีชนบทในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชน
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ. "การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม:
           ยุทธวิธีทางเลือกเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของสตรีชนบทในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชน".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2539.

อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ. (2539). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม:
           ยุทธวิธีทางเลือกเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของสตรีชนบทในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาชุมชน
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.