-
สมรรถนะการผสมของแตงกวาและการศึกษาคุณภาพสำหรับทำเป็นแตงกวาดอง
-
Combining abilities in cucumber and study on their pickle quality
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3-6 กุมภาพันธ์ 2536
-
Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Home Economics, Science, Engineering, Agro-Industry, Economics and Business Administration, Education, Humanities, Natural Resources and Environmental Economics
-
31
-
สาขาอุตสาหกรรมเกษตร
-
2536
-
0858-4583
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 345-352
-
683 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
F30-ปรับปรุงพันธุ์พืช
-
CUCUMIS SATIVUS;VARIETIES;YIELDS;COMBINING ABILITY;CUCUMBERS;FERMENTATION;CHEMICOPHYSICAL PROPERTIES
-
แตงกวา;แตงกวาดอง;พันธุ์;สมรรถนะการผสม;ผลผลิต;คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ
-
การศึกษาสมรรถนะการผสมของแตงกวา 5 สายพันธุ์ ร่วมกับลูกผสมตรงและลูกผสมสลับอย่างละ 10 คู่ผสม วางแผนการทดลองแบบ RCB ที่สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม พ.ศ. 2535 ข้อมูลที่ได้วิเคราะห์โดยใช้วิธีที่ 1 และสิ่งทดลองเป็นปัจจัยกำหนด นำผลที่ได้ไปศึกษาความเหมาะสมในการทำแตงกวาดองเกลือในน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นต่างกัน พบความแตกต่างระหว่างพันธุ์ในสมรรถนะการผสมทั่วไปในลักษณะผลผลิตต่อไร่ น้ำหนักต่อผล ขนาดผล ความบาง-หนาของเนื้อและสีผล สายพันธุ์ S3 และ S4 เหมาะสำหรับเป็นพันธุ์ผสมปล่อยที่ให้ผลผลิตสูง พบความแตกต่างในสมรรถนะการผสมเฉพาะของลักษณะความยาวผล และความแน่นของเนื้อ คู่ผสม S1xS5 และ S3xS5 มีสมรรถนะการผสมเฉพาะสูง พบอิทธิพลของพันธุ์แม่ในลักษณะขนาดของผลและสีผล พันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับดองเกลือ คือ S3xS1, S3xS5, S2 และ S5xS2 วิธีการดองที่เหมาะสม คือน้ำเกลือเพิ่มความเข้มข้นจากร้อยละ 10 ถึง 17 ภายใน 35 วัน ความสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์กับวิธีการดองมีผลต่อความแน่นเนื้อ ปริมาณกรด และปริมาณเกลือในแตงกวาดอง
-
Combining abilities were studied using 5 parental lines of cucumbers, 10 F1's and 10 reciprocal crosses derived from them. They were grown in RCB design at LARTC during June to August 1992. The data were analyzed according to the method 1 Diallel analysis with fixed treatment effects. Their fruits were fermented under various salt concentrations to test for pickle quality. The results revealed varietal difference in general combining ability (GCA) in yield per rai, fruit weight, fruit size, thinness and thickness of flesh and fruit color. Lines S3 and S4 expressed high GCA and thus suitable to include them in an open-pollinated cultivars. The hybrids reveales variation in specific combining ability (SCA) in yield per rai, length of fruit and thickness of flesh. Among them the hybrid S1xS5 and S3xS5 were found superior. Maternal effect was noticed in fruit size and fruit color. Good salt stock pickles were obtained from S3xS1, S3xS5, S2 and S5xS2 in 10 to 17 percent salt solution under 35 days fermentation. Interaction between genotype and fermentation techniques resulted in variation in firmness, acidity and salt concentration.
-
[1] จานุลักษณ์ ขนบดี (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง)
[2] ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน
[3] พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์
-
[1] Januluk Khanobdee (Rajamangala Institute of Technology. Lampang Campus, Lampang (Thailand). Lampang Agricultural Research and Training Center)
[2] Thirawan Chanrittisen
[3] Peerasak Srinives
จานุลักษณ์ ขนบดี. (2536). สมรรถนะการผสมของแตงกวาและการศึกษาคุณภาพสำหรับทำเป็นแตงกวาดอง. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
จานุลักษณ์ ขนบดี. "สมรรถนะการผสมของแตงกวาและการศึกษาคุณภาพสำหรับทำเป็นแตงกวาดอง". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.
จานุลักษณ์ ขนบดี. (2536). สมรรถนะการผสมของแตงกวาและการศึกษาคุณภาพสำหรับทำเป็นแตงกวาดอง. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.