Creative Commons License
  • การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสตาร์ชซิเตรทด้วยไมโครเวฟเทคนิค

  • Study on the feasibility of starch citrate production by microwave technique

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Home Economics, Science, Engineering, Agro-Industry, Economics and Business Administration, Education, Humanities, Natural Resources and Environmental Economics

  • 31

  • สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

  • 2536

  • วุฒิชัย นาครักษา

  • 0858-4583

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 277-284

  • 683 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • Q02-การแปรรูปอาหาร

  • TAPIOCA;STARCH;CITRATES;PRODUCTION;MICROWAVE TREATMENT

  • แป้งมันสำปะหลัง;สตาร์ชซิเตรท;การผลิต;ไมโครเวฟเทคนิค

  • การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสตาร์ชซิเตรทด้วยไมโครเวฟเทคนิค เพื่อลดระยะเวลาและขั้นตอนในกระบวนการผลิตสตาร์ชซิเตรท โดยนำแป้งมันสำปะหลังมาผสมกับสารละลายกรดซิตริกความเข้มข้น 0, 5 และ 10 เปอร์เซ็นต์ (ก/100 ก.สตาร์ช, นน.แห้ง) ที่ pH 4.5 แล้วนำของผสมมาปรับความชื้นอยู่ระหว่าง 17-20 เปอร์เซ็นต์ ด้วยการอบที่ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 ชม. จึงนำมาบดให้มีขนาด 0.3150 มม. และให้ความร้อนด้วยไมโครเวฟความถี่ 2450 MHz เป็นเวลา 3, 5 และ 7 นาที จากผลการทดลองพบว่า การผลิตสตาร์ชซิเตรทด้วยการใช้คลื่นไมโครเวฟนั้นสามารถกระทำได้ โดยสตาร์ชซิเตรทจากแป้งมันสำปะหลังที่ได้ มีความชื้น (เปอร์เซ็นต์ WC) อยู่ระหว่าง 2-7 เปอร์เซ็นต์ และกรดซิตริกที่เกาะเกี่ยวกับโมเลกุลของสตาร์ช (เปอร์เซ็นต์ BC) อยู่ระหว่าง 3-8.7 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพในการเกิดปฏิกิริยา (เปอร์เซ็นต์ RE) อยู่ระหว่าง 59-87 เปอร์เซ็นต์ โดยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการให้ความร้อนด้วยไมโครเวฟ (X sub(1)) และความเข้มข้นของกรดซิตริกที่ใช้ (sub(2)) ดังนี้ เปอร์เซ็นต์ RE = 55.735319-25.282313X sub(1)+15.856813X sub(2)+0.64875X sub(1)Xsub(2)+2.55319X sub(1) sup(2)-1.20289X sub(2) sup(2)

  • Study on the feasibility of starch citrate production by microwave technique aimed to reduce processing time and production steps in the processing lines. Tapioca starch was mixed with citric acid solution 0, 5 and 10 percent (g/100g starch, db) at pH 4.5. The mixture was conditioned to moisture content about 17-20 percent by hot air oven at 50 deg C for 8 hr. Then it was ground to 0.3150 mm and heated with microwave at frequency 2450 MHz for 3, 5 and 7 min. The results showed that it was possible to produce starch citrate by using microwave technique. Starch citrate from tapioca starch has moisture content = (percent WC) 2-7 percent, bound citric acid (percent BC) 3-8 percent and reaction efficiency (percent RE) 59-87 percent. Percent RE was related to heating time (X sub(1)), conc. of citric acid (sub(2)) and its interaction; percent RE = 55.735319-25.282313X sub(1)+15.856813X sub(2)+0.64875X sub(1)Xsub(2)+2.55319X sub(1) sup(2)-1.20289X sub(2) sup(2).

  • [1] วุฒิชัย นาครักษา (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร)

  • [1] Woatthichai Narkrugsa (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agricultural Technology. Dept. of Agricultural Industry)

182 203

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วุฒิชัย นาครักษา. (2536). การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสตาร์ชซิเตรทด้วยไมโครเวฟเทคนิค.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


วุฒิชัย นาครักษา. "การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสตาร์ชซิเตรทด้วยไมโครเวฟเทคนิค".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

วุฒิชัย นาครักษา. (2536). การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตสตาร์ชซิเตรทด้วยไมโครเวฟเทคนิค.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.