-
การวินิจฉัยคอร์ปัสลูเทียมในโคสาว โดยการล้วงตรวจด้วยมือและการใช้เครื่องอุลตร้าซาวด์ เปรียบเทียบกับระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
-
Diagnosis of corpora lutea in heifers by ultrasonography and rectal palpation compared to the levels of progesterone
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาสัตว์ ประมง สัตวแพทยศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2536
-
Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Animal Science, Fisheries and Veterinary Science
-
31
-
สาขาสัตวแพทย์
-
2536
-
โชคชัย ชัยมงคล
สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย
เฟรดริคสัน, กุลน่า
คินดอลล์, ฮันส์
-
0858-4575
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 595-598
-
686 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
L53-การสืบพันธุ์สัตว์
-
HEIFERS;CORPUS LUTEUM;PROGESTERONE;DIAGNOSIS;ULTRASONICS
-
โค;คอร์ปัสลูเทียม;โปรเจสเตอโรน;การวินิจฉัย;การล้วงตรวจด้วยมือ;เครื่องอุลตร้าซาวด์;ระดับฮอร์โมน
-
การล้วงตรวจระบบสืบพันธุ์ เพื่อวินิจฉัยคอร์ปัสลูเทียม โดยใช้การล้วงตรวจด้วยมือให้ผลถูกต้องที่จำกัด ในการศึกษานี้ ทำการเปรียบเทียบผลการล้วงตรวจด้วยมือ และเครื่องอุลตร้าซาวด์กับระดับของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ผลการตรวจ 100 ครั้ง จากวัวสาว 62 ตัว พบว่าการล้วงตรวจระบบสืบพันธุ์ด้วยมือให้ความถูกต้อง 87 เปอร์เซ็นต์ การตรวจด้วยเครื่องมืออุลตร้าซาวด์ ให้ความถูกต้อง 99 เปอร์เซ็นต์ เมื่อระดับโปรเจสเตอโรนสูงกว่า 10 นาโนโมล/ลิตร พบคอร์ปัสลูเทียมโดยการล้วงตรวจด้วยมือ 81 เปอร์เซ็นต์ (35/43) และ 100 เปอร์เซ็นต์ (43/43) เมื่อตรวจด้วยเครื่องอุลตร้าซาวด์ และเมือระดับของโปรเจสเตอโรนต่ำกว่า 3 นาโนโมล/ลิตร ซึ่งบ่งชี้ว่า ไม่มีคอร์ปัสลูเทียมที่ยังทำงานอยู่ ความถูกต้องโดยการล้วงตรวจด้วยมือ 91 เปอร์เซ็นต์ (29/32) และ 97 เปอร์เซ็นต์ (31/32) โดยอุลตร้าซาวด์ จึงสรุปได้ว่าการใช้เครื่องอุลตร้าซาวด์ช่วยให้การวินิจฉัยระบบสืบพันธุ์ได้ถูกต้องมากกว่าการล้วงตรวจด้วยมืออย่างเดียว และระดับของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจะช่วยให้การวินิจฉัยถูกต้องแม่นยำยิ่งขึ้น
-
Inability of diagnosis an active corpus luteum (Cl) by rectal palpation in heifers may diminish the accuracy of making a correct diagnosis e.g. in oestrous synchronization programmes, puberty studies or in general clinical practice. The reproductive status was evaluated in 62 heifers at 100 examinations. Rectal palpation and ultrasonography were performed and plasma sample was collected and analysed for the content of progesterone. Result of all examinations from progesterone estimation compared to rectal palpation and ultrasonography indicated 87 percent and 99 percent accurate findings, respectively. When the levels of progesterone were above 10 nmol/l, 81 percent (35/43) accurately diagnosed by rectal palpation compared to 100 percent (43/43) by ultrasonography. When the levels of progesterone were below 3 nmol/l, indicating an absence of the Cl or presence of an old Cl or non-functional Cl, the results were 91 percent (29/32) and 97 percent (31/32), respectively. Therefore, ultrasonography can provide more accurate reproductive findings in heifers than rectal palpation alone and estimation of progesterone can be used to support the clinical diagnosis.
-
[1] โชคชัย ชัยมงคล (องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย จังหวัดสระบุรี)
[2] สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย
[3] เฟรดริคสัน, กุลน่า
[4] คินดอลล์, ฮันส์
-
[1] Chockchai Chaimongkol (Dairy Farming Promotion Organization of Thailand, Saraburi (Thailand))
[2] Suneerat Aiumlamai
[3] Fredriksson, G.
[4] Kindahl, H.
โชคชัย ชัยมงคล และคนอื่นๆ. (2536). การวินิจฉัยคอร์ปัสลูเทียมในโคสาว
โดยการล้วงตรวจด้วยมือและการใช้เครื่องอุลตร้าซาวด์ เปรียบเทียบกับระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
โชคชัย ชัยมงคล และคนอื่นๆ. "การวินิจฉัยคอร์ปัสลูเทียมในโคสาว
โดยการล้วงตรวจด้วยมือและการใช้เครื่องอุลตร้าซาวด์ เปรียบเทียบกับระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.
โชคชัย ชัยมงคล และคนอื่นๆ. (2536). การวินิจฉัยคอร์ปัสลูเทียมในโคสาว
โดยการล้วงตรวจด้วยมือและการใช้เครื่องอุลตร้าซาวด์ เปรียบเทียบกับระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.