-
ผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาและกากตะกอนมูลสุกรในวัสดุปลูกต่อการเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน
-
Effects of Arbuscular mycorrhizal fungi and pig sludge in growing media on growth of baby corn
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51: สาขาพืช
-
Proceedings of 51st Kasetsart University Annual Conference: Plants
-
51
-
สาขาพืช
-
2556
-
ศุภากร ดวนใหญ่
รุ่งโรจน์ พิทักษ์ด่านธรรม
รักศักดิ์ เสริมศักดิ์
-
978-616-278-066-0
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51
-
กรุงเทพฯ
-
5-7 ก.พ. 2556
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 70-78
-
528 หน้า
-
ไทย
-
สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์
-
F04-ปุ๋ย
-
F61-ธาตุอาหาร
-
F01-การผลิตพืช
-
Zea mays;Poaceae;เวสซิคิวลาร์อาร์บัสคิวลาร์ไมคอร์ไรซา;ไมคอร์ไรซา;เชื้อรา;ปุ๋ยคอก;วัสดุปลูก;การผลิตพืช;การเกิดราก;การเติบโต;การดูดกินธาตุอาหาร;ทองแดง;สังกะสี;ประเทศไทย
-
Zea mays;Poaceae;Vesicular arbuscular mycorrhizae;Mycorrhizae;Fungi;Farmyard manure;Growing media;Plant production;Rooting;Growth;Nutrient uptake;Copper;Zinc;Thailand
-
ข้าวโพดฝักอ่อน;พันธุ์สุวรรณ 2;เชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา;กากตะกอนมูลสุกร;วัสดุปลูก;อัตราส่วนผสม;การผลิตพืช;การเจริญเติบโต;การดูดใช้ธาตุอาหาร;ทองแดง;สังกะสี
-
Baby corn;Suwan 2;Arbuscular mycorrhizal fungi;Pig sludge;Growing media;Ratio;Plant production;Growth;Nutrient uptake;Copper;Zinc
-
ทำการทดลองในกระถางจำนวน 2 การทดลอง เพื่อศึกษาผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา(AMF) และปริมาณของกากตะกอนมูลสุกร (PS) ในวัสดุปลูกต่อการเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อนพันธุ์ KBSC 605 และพันธุ์สุวรรณ 2 จากผลการทดลอง พบว่า ต้นข้าวโพดในตำรับที่ใส่ PS 33 เปอร์เซ็นต์ ทั้งใส่และไม่ใส่ AMF ให้ความสูง น้ำหนักแห้งของส่วนเหนือดิน ฝัก และราก รวมทั้งการดูดใช้ทองแดงและสังกะสีในส่วนเหนือดินมากกว่าต้นข้าวโพดในตำรับที่ไม่ใส่ PS ทั้งใส่และไม่ใส่ AMF แต่ต้นข้าวโพดที่ใส่และไม่ใส่ AMF ของแต่ละระดับ PS ให้ผลไม่แตกต่างกัน ยกเว้นต้นข้าวโพดในตำรับที่ใส่ PS 33 เปอร์เซ็นต์ แต่ไม่ใส่ AMF มีการดูดใช้สังกะสีมากกว่าต้นข้าวโพดในตำรับที่ใส่ PS 33 เปอร์เซ็นต์ และใส่ AMF อย่างไรก็ตาม AMF ไม่มีผลต่อการดูดใช้ทองแดงในส่วนเหนือดิน และอัตราส่วนที่เหมาะสมในการใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุปลูกอยู่ระหว่าง PS 10-15 เปอร์เซ็นต์ สำหรับวัสดุปลูกผสมที่ศึกษา
-
Two pot experiments were conducted to investigate the effects of Arbuscular mycorrhizal fungi (AMF) and pig sludge (PS) in growing media on growth of KBSC 605 and Suwan 2. The results showed that the plant grown in media with PS at 33 percent inoculated and noninoculated with AMF gave greater height, shoot, ear and root dry matter including cu and zn uptake in shoot than that without PS (0 percent) inoculated and noninoculated with AMF. Plant shoot derived from growing media with PS at 33 percent and noninoculated with AMF gave Cu uptake more than that with PS at 33 percent inoculated with AMF. However, AMF gave negative effect on zn uptake in shoot. PS at 10-15 percent is recommended for the studies growing media.
-
[1] ศุภากร ดวนใหญ่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาปฐพีวิทยา)
[2] รุ่งโรจน์ พิทักษ์ด่านธรรม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาปฐพีวิทยา)
[3] รักศักดิ์ เสริมศักดิ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาเกษตรกลวิธาน)
-
[1] Supakorn Duanyai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Soil Science)
[2] Roongroj Pitakdantham (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Soil Science)
[3] Raksak Sermsak (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Farm Mechanics)
ศุภากร ดวนใหญ่. (2556).
ผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาและกากตะกอนมูลสุกรในวัสดุปลูกต่อการเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
ศุภากร ดวนใหญ่.
"ผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาและกากตะกอนมูลสุกรในวัสดุปลูกต่อการเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน".
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
2556.
ศุภากร ดวนใหญ่. (2556).
ผลของเชื้อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาและกากตะกอนมูลสุกรในวัสดุปลูกต่อการเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อน.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.