Creative Commons License
  • การเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของผักหวานป่าโดยการเติมจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชและการปลูกร่วมกับแคบ้าน

  • Growth enhancement of Pak Wanpa (Melientha suavis Pierre) by inoculating with plant growth-promoting microorganisms and incorporated sowing with agasta (Sesbania grandiflora (L.) Poir.)

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51: สาขาพืช

  • Proceedings of 51st Kasetsart University Annual Conference: Plants

  • 51

  • สาขาพืช

  • 2556

  • กนกอร อัมพรายน์
    มนตรี แก้วดวง
    รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์
    สายันต์ ตันพานิช

  • 978-616-278-066-0

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51

  • กรุงเทพฯ

  • 5-7 ก.พ. 2556

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 8-16

  • 528 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • F01-การผลิตพืช

  • F08-ระบบการปลูกพืช

  • P34-จุลชีพในดิน

  • พืชป่า;Sesbania grandiflora;พืชอาหาร;พืชปลูกร่วมกัน;การเขตกรรม;การปลูกพืชแซม;พืชอิงอาศัย;พืชอาศัย;จุลินทรีย์;จุลินทรีย์ดิน;แบคทีเรีย;ยีสต์;การเสริมฤทธิ์;อัตราการเติบโต;ปัจจัยการเจริญเติบโต;ประเทศไทย

  • Wild plants;Sesbania grandiflora;Food crops;Companion crops;Cultivation;Intercropping;Epiphytes;Host plants;Microorganisms;Soil microorganisms;Bacteria;Yeasts;Synergism;Growth rate;Growth factors;Thailand

  • ผักหวานป่า;แคบ้าน;การปลูกพืชผสมผสาน;พืชเบียน;พืชให้อาศัย;รากเบียน;จุลินทรีย์ในดิน;เชื้อแบคทีเรีย;ยีสต์;จุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืช;อัตราการเจริญเติบโต

  • Pak Wanpa;Melientha suavis;Agasta;Sesbania grandiflora;Cultivation;Relay cropping;Parasitic plant;Host;Haustoria;Microorganisms;Soil bacteria;Soil yeast;Synergism;Growth rate;Thailand

  • ข้อจำกัดหนึ่งของการเพาะปลูกผักหวานป่า (Pak wanpa: Melientha suavis) เพื่อการค้าคือ ต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเมล็ดมีการเจริญเติบโตที่ช้ามาก การวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของผักหวานป่าด้วยการเติมจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชและการเพาะเมล็ดร่วมกับแคบ้าน (agasta: Sesbania grandiflora) ผลการทดลองแสดงให้เห็นความสัมพันธ์แบบพืชเบียนกับพืชให้อาศัย (parasite-host) ของผักหวานป่ากับแคบ้าน โดยพบการพัฒนารากเบียน (haustoria) ของผักหวานป่าเพื่อยึดเกาะและดูดธาตุอาหารและน้ำจากแคบ้าน ทำให้ต้นกล้าผักหวานป่าที่ได้จากการเพาะเมล็ดร่วมกับเมล็ดแคบ้านมีการเจริญเติบโตที่ดีกว่าต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเมล็ดเชิงเดี่ยว และพบว่าการเติมจุลินทรีย์ดิน Acetobacter diazotrophicus 1067, Pseudomonas fluorescens 358, Saccharomyces cerevisiae 5003 และแบคทีเรียรอบรากพืชไอโซเลต JR43 และ KR32 ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักหวานป่า แต่จุลินทรีย์เกือบทุกชนิด ยกเว้น S. cerevisiae 5003 กระตุ้นให้ผักหวานป่ามีการสร้างรากเบียน

  • Constraint of commercial cultivation of Pak wanpa is a long seedling period. This study aimed to enhance the growth of Pak wanpa seedlings by introducing plant growth-promoting (PGP) microbes and incorporated sowing with agasta. The obtained results exhibited parasite-host relationship between Pak wanpa and agasta as evidenced by haustorium formation. Pak Wanpa seedlings thrived fairly better when parasitised agasta roots as a consequence of flow-through nutrients and water. The introduction of soil microbes such as A. diazotrophicus 1067, P. fluorescens 358, S. cerevisiae 5003, and rhizospheric bacteria isolates JR43 and KR32 provided no effect on growth of Pak wanpa. However, the addition of all PGP microbes excluding S. cerevisiae 5003 could stimulate huastorium formation of Pak wanpa.

  • [1] กนกอร อัมพรายน์ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร)
    [2] มนตรี แก้วดวง (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร)
    [3] รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร)
    [4] สายันต์ ตันพานิช (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร)

  • [1] Khanok-on Amprayn (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Agricultural Technology Department)
    [2] Montree Keawduang (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Agricultural Technology Department)
    [3] Rochana Tangkoonboribun (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Agricultural Technology Department)
    [4] Sayan Tanpanich (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Agricultural Technology Department)

370 321

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

กนกอร อัมพรายน์ และคนอื่นๆ. (2556).
           การเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของผักหวานป่าโดยการเติมจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชและการปลูกร่วมกับแคบ้าน
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


กนกอร อัมพรายน์ และคนอื่นๆ.
           "การเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของผักหวานป่าโดยการเติมจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชและการปลูกร่วมกับแคบ้าน". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2556.

กนกอร อัมพรายน์ และคนอื่นๆ. (2556).
           การเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของผักหวานป่าโดยการเติมจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชและการปลูกร่วมกับแคบ้าน
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.