Creative Commons License
  • พรรณไม้น้ำในจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์

  • Aquatic plants in Phayao, Phrae, Nan and Uttaradit

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50: สาขาสัตว์, สาขาสัตวแพทยศาสตร์, สาขาประมง

  • Proceedings of 50th Kasetsart University Annual Conference: Animals, Veterinary Medicine, Fisheries

  • 50

  • สาขาประมง

  • 2555

  • พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล

  • 978-616-7522-92-0

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50

  • กรุงเทพฯ

  • 31 ม.ค.-2 ก.พ. 2555

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 359-367

  • 622 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • F70-อนุกรมวิธานพืช

  • พืชน้ำ;สำรวจ;อนุกรมวิธาน;การจัดจำแนก;ความหลากหลายทางชีวภาพ;การใช้;ประเทศไทย

  • Aquatic plants;Surveys;Taxonomy;Identification;Biodiversity;Uses;Thailand

  • พรรณไม้น้ำ;พืชน้ำ;ความหลากหลายทางชีวภาพ;การสำรวจ;การแพร่กระจาย;การจำแนกชนิด;การใช้ประโยชน์;จ.พะเยา;จ.แพร่;จ.น่าน;จ.อุตรดิตถ์

  • Aquatic plant;Species diversity;Phayao province;Phrae province;Nan province;Uttaradit province

  • การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้น้ำในจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 พบพรรณไม้น้ำทั้งหมด 23 วงศ์ 51 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นพืชประเภทชายน้ำ 16 วงศ์ 38 ชนิด วงศ์ที่พบเด่นคือ Cyperaceae รองลงมาคือ Polygonaceae, Poaceae และ Araceae โดยพรรณไม้น้ำที่พบเป็นชนิดเด่น คือ ไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra) ผักเป็ด (Alternanthera sessilis) เทียนนา (Jussiaea linifolia) แขม (Phragmites karka) และเลา (Saccharum spontaneum) โดยพบพรรณไม้น้ำกลุ่มที่เป็นอาหารของมนุษย์ 7 ชนิด พรรณไม้น้ำที่ใช้ทำยา 14 ชนิด พรรณไม้น้ำที่เป็นไม้ประดับ 8 ชนิด พรรณไม้น้ำที่เป็นวัชพืชร้ายแรง 4 ชนิด และพรรณไม้น้ำที่เป็นดัชนีชี้วัดสิ่งแวดล้อม 4 ชนิด

  • Species diversity of aquatic plants in four Thai provinces namely Phayao, Phrae, Nan and Uttaradit was observed in February 2011. Fifty one species of 23 families were reported. Most of them were marginal plants (38 species of 16 families). The dominant Family were Cyperaceae, Polygonaceae, Poaceae and Araceae, respectively. The dominant species were giant mimosa (Mimosa pigra), sessile joyweed (Alternanthera sessilis), water primrose (Jussiaea linifolia), common reed (Phragmites karka) and wild sugarcane (Saccharum spontaneum). Aquatic plants that used for food, medicine and decoration were 7, 14 and 8 species, respectively. Four species were classified as the serious weeds and four species can be used as the environmental indicators.

  • [1] พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)

  • [1] Phongchate Pichitkul (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Aquaculture)

362 124

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. (2555). พรรณไม้น้ำในจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. "พรรณไม้น้ำในจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2555.

พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. (2555). พรรณไม้น้ำในจังหวัดพะเยา แพร่ น่าน และอุตรดิตถ์.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.