Creative Commons License
  • การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของเด็กวัยเรียน

  • Enhancement of a change in consumption behavior of school-children

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48: สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ

  • Proceedings of 48th Kasetsart University Annual Conference: Economics and Business Administration

  • 48

  • สาขาเศรษฐศาสตร์

  • 2553

  • พิมลพรรณ บุญยะเสนา
    สุขุม พันธุ์ณรงค์

  • 978-616-7262-36-9

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48

  • กรุงเทพฯ

  • 3-5 ก.พ. 2553

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 133-141

  • 166 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • E73-การบริโภค

  • S01-โภชนศาสตร์

  • การบริโภค;การบริโภคอาหาร;พฤติกรรม;พฤติกรรมผู้บริโภค;เศรษฐศาสตร์;โภชนาการของมนุษย์;การเลือกกินอาหารที่ชอบ;เด็กวัยเรียน;ประเทศไทย

  • Consumption;Food consumption;Behaviour;Consumer behaviour;Economics;Human nutrition;Feeding preferences;School children;Thailand

  • เด็กวัยเรียน;พฤติกรรมการบริโภค;นิสัยการรับประทาน;การกินอาหาร;อาหารที่ไม่มีประโยชน์;การเปลี่ยนพฤติกรรม;การส่งเสริม;พฤติกรรมทางบวก;จ.เชียงใหม่

  • School children;Consumption behavior;Eating habits;Food preferences;Health diets;Change;Enhancement;Chiang Mai province

  • งานวิจัยนี้ ได้ศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภคของเด็กวัยเรียนในการเลือกรับประทานอาหาร และสร้างแนวทางในการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กในวัยเรียน เพื่อให้เด็กวัยเรียนเลือกรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์และเหมาะสม โดยในการศึกษาได้ศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียนระดับชั้น ป.4-ม.6 ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1,192 คน ผลการศึกษาพบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมคือ รับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ไม่รับประทานผัก ผลไม้ ทานอาหารที่มีรสจัด อาหารสำเร็จรูป ขนมและเครื่องดื่ม ที่ไม่มีประโยชน์ และจากผลการศึกษาดังกล่าวได้สร้างแนวทางในการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภค ตามแนวคิดของ B.F. Skinner และ Bandura โดยใช้กระบวนการ 2 กระบวนการ ในกลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ และสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระบวนการแรกคือ กระบวนการการพัฒนาเงื่อนไข นำโดยการจัดกิจกรรมการจัดบอร์ด เล่นเกมส์ ตั้งคำขวัญ ระดมความคิดเห็น จากนั้นจึงใช้กระบวนการที่สอง คือสร้างแรงเสริมพฤติกรรมทางบวกเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง โดยใช้กิจกรรมเพื่อนเตือนเพื่อน คือให้นักเรียนสังเกตและตักเตือนเพื่อนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม และให้รางวัลกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ผลการศึกษาโดยใช้บันทึกพฤติกรรม พบว่านักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม คือ นักเรียน ป.4-6 รับประทานผัก ผลไม้ อาหารครบ 5 หมู่เพิ่มขึ้น รับประทานอาหารสำเร็จรูปบรรจุถุงพลาสติก อาหารที่มีรสจัด ลูกอม ลูกกวาดลดลง และนักเรียน ม.1-6 รับประทานอาหารที่มีรสจัด รับประทานลูกอม ลูกกวาด ชา กาแฟ โออิชิ โอเลี้ยง น้ำอัดลม ลดลง

  • This research aimed to examine the consumption behavior in terms of food choices among school-children and then develop the guidelines to encourage their behavioral change proper and healthy diets for their age. The study covered 1,192 of 4th-12th grade schoolchildren. The study found most school-children had many improper eating behavior such as negligence of balanced diets, refusal to eat vegetables and fruits, preference for spicy and ready-made foods, eating junk snacks, and drinking no-health-benefit beverage. As a result from the study , the model was developed as a guideline to encourage their behavioral change using B.F. Skinner and Bandura idea. Consequently, two development approaches were adopted for experimentation in Chiang Mai Kindergaten school and Chiang Mai University Demostration school to obtain the prototypes of program to change consumption behaviors. The results of experimentation to generate behavioral changes within the 4th-6th grade target group suggested the likely success in terms of greater consumption of vegetables and fruits, better nutritional balance, cutting down on ready-made take-home food in plastic bags, on overly spicy food and candy. The implication for the 7th-12th grade target group would be the positive change in terms of less consumption of overly spicy food, candy, tea, coffee and frizzy soft drink.

  • [1] พิมลพรรณ บุญยะเสนา (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเศรษฐศาสตร์)
    [2] สุขุม พันธุ์ณรงค์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเศรษฐศาสตร์)

  • [1] Pimonpun Boonyasana (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Economics)
    [2] Sukhoom Punnarong (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Economics)

927 420

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

พิมลพรรณ บุญยะเสนา และ สุขุม พันธุ์ณรงค์. (2553).
           การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของเด็กวัยเรียน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


พิมลพรรณ บุญยะเสนา และ สุขุม พันธุ์ณรงค์. "การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของเด็กวัยเรียน". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2553.

พิมลพรรณ บุญยะเสนา และ สุขุม พันธุ์ณรงค์. (2553).
           การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของเด็กวัยเรียน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.