Creative Commons License
  • การจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษา: กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา บ้านถ้ำเต่า หมู่ 1 ตำบลสามัคคีพัฒนา อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร

  • OTOP product management case study: Indigo cotton fabric products of the member of Moo 1 SamakkeePattana subdistrict, AkartAmnuay district, Sakon Nakhon province

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48: สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ

  • Proceedings of 48th Kasetsart University Annual Conference: Economics and Business Administration

  • 48

  • สาขาเศรษฐศาสตร์

  • 2553

  • จาริตา หินเธาว์
    กันยารัตน์ สุขวัธนกุล

  • 978-616-7262-36-9

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48

  • กรุงเทพฯ

  • 3-5 ก.พ. 2553

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 9-16

  • 166 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • E20-การบริหาร/ธุรกิจเกษตร

  • E21-อุตสาหกรรมเกษตร

  • E80-คหกรรมศาสตร์

  • Gossypium hirsutum;ฝ้าย;ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากพืช;การปั่นฝ้าย;การพัฒนาผลิตภัณฑ์;สิ่งทอ;สีย้อม;อุตสาหกรรมในครัวเรือน;การรวมตัวทางเศรษฐกิจ;ประเทศไทย

  • Gossypium hirsutum;Cotton;Processed plant products;Cotton ginning;Product development;Textiles;Dyes;Cottage industry;Economic concentration;Thailand

  • ผ้าฝ้ายย้อมคราม;ผลิตภัณฑ์โอท็อป;การเพิ่มมูลค่า;สถานภาพการผลิต;การถ่ายทอดความรู้;การบัญชี;การตลาด;กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา;จ.สกลนคร อ.อากาศอำนวย

  • Indigo;Indigo cotton fabric;Product management;OTOP product;Add value;Samakkee Pattana subdistrict;Akart Amnuay district;Sakon Nakhon province

  • การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพการผลิตในการจัดการและถ่ายทอดองค์ความรู้ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มนิยมทอผ้าฝ้ายย้อมครามเป็นงานอดิเรกนอกเหนือจากงานด้านเกษตรกรรม โดยพิจารณาเป็นด้าน ดังนี้ด้านกระบวนการผลิตกลุ่มมีโครงสร้างธุรกิจครบทั้ง 3 ขั้น ตอนคือ ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ การผลิตไม่กระทบสิ่งแวดล้อมกลุ่มเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในจังหวัด ซึ่งทางกลุ่มเน้นการทอเป็นผืนจำหน่าย ด้านการตลาดกลุ่มมีจุดแข็งที่ลวดลายและฝีมือการทอผ้าย้อมครามแต่กลุ่มขาดการพัฒนาด้านบรรจุหีบห่อและขาดการพัฒนา แปรรูปผลิตภัณฑ์ ขาดนวัตกรรมใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่ากลุ่มมีการกระจายสินค้าโดยการขายตรงที่กลุ่มแม่บ้าน การวางจำหน่ายตามศูนย์แสดงสินค้า OTOP ในจังหวัด ทำให้พบว่าช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าจำกัด ด้านการบริหารงานกลุ่มมีการรวมตัว เพิ่มจำนวนสมาชิกอย่างต่อเนื่องและมีการติดต่อสร้างเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง ผู้นำกลุ่ม เป็นตัวแปรสำคัญอย่างหนึ่งในการนำกลุ่มไปสู่ความสำเร็จ แต่กลุ่มยังขาดการมอบหมายงาน กระจายอำนาจและตัดสินใจ ส่วนด้านการเงินและบัญชีจะพบว่าระบบบัญชีการลงบัญชียังไม่ครบถ้วน และขาดความสม่ำเสมอ ไม่คำนึงถึงต้นทุนที่เป็นนามธรรม

  • Objectives of the study were to investigate production status of management and transfer the knowledge the results of this study showed that group usually made the indigo dyed textile as their hobbies after their cultivating season was over. In terms of production, the group had the complete 3-step business organization. Step one refers to the cultivating, step two includes dyeing and Step three refers to products distribution including direct sale at local shops, there has been a constant and consistent product development which is environmentally friendly. The main material is indigo feratinc-toria which is mainly produced by the group. In terms of marketing the product shows the high quality but inappropriate packaging, lack of the variety of textile design, limited distribution channels. In terms of human resource management in addition, the group has more members and networks including both local and from other provinces. In terms of community enterprise management, the head of the group shows good leadership as the group has achieved the goals consistently. According to the study, the group's weaknesses and difficulties include the lack of power and job distribution, group members lack decision making skills. In terms of accounting and financial, insufficient and inconsistent accounting and marketing system.

  • [1] จาริตา หินเธาว์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)
    [2] กันยารัตน์ สุขวัธนกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)

  • [1] Jarita Hinthao (Kasetsart University. Chalermphrakiat Sakon Nakhon Campus, Sakon Nakhon (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Science)
    [2] Kanyarat Sukhawatthanakun (Kasetsart University. Chalermphrakiat Sakon Nakhon Campus, Sakon Nakhon (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Science)

884 1

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

จาริตา หินเธาว์ และ กันยารัตน์ สุขวัธนกุล. (2553). การจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษา: กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา
           บ้านถ้ำเต่า หมู่ 1 ตำบลสามัคคีพัฒนา อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


จาริตา หินเธาว์ และ กันยารัตน์ สุขวัธนกุล. "การจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษา: กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา
           บ้านถ้ำเต่า หมู่ 1 ตำบลสามัคคีพัฒนา อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2553.

จาริตา หินเธาว์ และ กันยารัตน์ สุขวัธนกุล. (2553). การจัดการผลิตภัณฑ์ OTOP กรณีศึกษา: กลุ่มแม่บ้านสามัคคีพัฒนา
           บ้านถ้ำเต่า หมู่ 1 ตำบลสามัคคีพัฒนา อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.