Creative Commons License
  • ความพึงพอใจของนิสิตหญิง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีต่อกระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่น

  • Satisfaction of female Kasetsart University students on bags made from Spun silk

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Agricultural Extension and Home Economics

  • 47

  • สาขาคหกรรมศาสตร์

  • 2552

  • กัญญา ภัทรกุลอมร
    ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ
    กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณยวัทน์
    สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ

  • 978-974-660-345-4

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 87-94

  • 188 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E73-การบริโภค

  • Q60-การแปรรูปผลิตผลเกษตร

  • ไหม;ผู้หญิง;มหาวิทยาลัย;ประเทศไทย;ความพอใจในงาน;ผลิตภัณฑ์การเกษตร;แบบสอบถาม;การประเมินผล

  • Silk;Women;Universities;Thailand;Work satisfaction;Agricultural products;Questionnaires;Evaluation

  • กระเป๋า;ผ้าไหมปั่น;ลายผ้า;รูปทรงกระเป๋า;นิสิตหญิง;มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;ความพึงพอใจ;ผลิตภัณฑ์จากผ้าไหม;แบบสอบถาม;แบบประเมิน

  • Spun silk;Kasetsart University

  • การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์กระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่น ของ นิสิตหญิงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2) เปรียบเทียบความพึงพอใจของนิสิตหญิงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มี ต่อผลิตภัณฑ์กระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่นต่างชนิดและมีรูปแบบต่างกัน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม แบบประเมินความพึงพอใจ และผลิตภัณฑ์กระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่นจำนวน 9 ผลิตภัณฑ์ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นิสิตหญิง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร ได้จากการสุ่ม แบบบังเอิญ เฉพาะผู้ที่สนใจผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมปั่น จำนวน 100 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจ โดยใช้ Least Significant Difference (LSD) ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นนิสิตชั้นปีที่ 2 ศึกษาอยู่ในคณะเกษตร มีอายุ 20 ปี มีรายได้ต่อเดือน 4,101-5,800 บาท ไม่เคยใช้กระเป๋าที่ทำจากผ้าไหม ซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าไหมจากงานแสดงสินค้าไม่รู้จักผ้าไหมปั่น และเหตุผลในการซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าไหมเพราะรูปแบบสวยงาม ผลการศึกษาความพึงพอใจของนิสิตหญิง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีต่อผลิตภัณฑ์กระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่น พบว่า ด้านรูปแบบ นิสิตหญิงมีความพึงพอใจกระเป๋าสะพาย และกระเป๋าถือในระดับมาก และมีความพึงพอใจกระเป๋าเป้ในระดับปานกลางด้านชนิดผ้านิสิตหญิงมีความพึงพอใจผ้าไหมขิด และผ้าไหมยกดอกในระดับมาก และมีความพึงพอใจผ้าไหมเหลือบในระดับปานกลาง ผลการวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่า รูปแบบกระเป๋าที่แตกต่างกันสร้างความพึงพอใจที่ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และผ้าที่แตกต่างกันสร้างความพึงพอใจที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ .01 นิสิตหญิงมีความพึงพอใจกระเป๋าสะพายมากกว่ากระเป๋าเป้ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และมี ความพึงพอใจกระเป๋าทำจากผ้าไหมขิดมากกว่ากระเป๋าทำจากผ้าไหมยกดอก และผ้าไหมเหลือบ และมีความพึง พอใจกระเป๋าทำจากผ้าไหมยกดอกมากกว่ากระเป๋าทำจากผ้าไหมเหลือบ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01

  • This research project aimed to study the satisfaction of female Kasetsart University Students on the bags made form spun silk . A comparison among satisfaction with bags made Khit fabrics (Scroll Pattern) pink, grey Yok Dok fabrics (Luk Keaw pattern), and pink-yellow Chambray fabrics plain weave were observed, questionnaires and three styles of spun silk bags made of different types of clothes (nine bags in total) were used in collection data. The subjects were one hundred female Kasetsart University students (year 1 to year 4). They were selected through accidental sampling method. The data were analyzed to find frequency, percentage, and mean values by using one-way ANOVA, F-test, Least Significant Difference (LSD). A comparison of satisfaction mean values was also focused. The results showed the most of the subjects were 20 year-old second-year students in Faculty of Agriculture. Their income was around 4,101-5,800 bath a month. They never used silk bags and were not familiar with spun silk. Factor affecting their decisions in purchasing silk products was the beauty of the products. For style, they were most satisfied with shoulder bags and hand bags followed by backpacks. For types of materials, they were most satisfied with Khit fabrics and Yok Dok fabrics followed by Chambray fabrics. For variance analysis, different styles of bags and different types of clothes produced different level of satisfaction at a significant level of .05 and .01 respectively. The subjects were more satisfied with shoulder bags than backpacks and more satisfied with Yok Dok fabrics than Chambray fabrics both at a significant level of .01

  • [1] กัญญา ภัทรกุลอมร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [2] ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [3] กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณยวัทน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาอาชีวศึกษา)
    [4] สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)

  • [1] Kanya Pattarakunamorn (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [2] Kajijarus Piromthamsiri (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [3] Kulkanit Rashainbunyawat (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Education Department of Vocational Education)
    [4] Suteeluk Kraisuwan (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)

1,944 241

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

กัญญา ภัทรกุลอมร และคนอื่นๆ. (2552). ความพึงพอใจของนิสิตหญิง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
           ที่มีต่อกระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่น
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


กัญญา ภัทรกุลอมร และคนอื่นๆ. "ความพึงพอใจของนิสิตหญิง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
           ที่มีต่อกระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่น".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2552.

กัญญา ภัทรกุลอมร และคนอื่นๆ. (2552). ความพึงพอใจของนิสิตหญิง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
           ที่มีต่อกระเป๋าทำจากผ้าไหมปั่น
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.