Creative Commons License
  • การรับรองแหล่งผลิต GAP พืชในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย

  • GAP certification for crops in lower northern Thailand

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Agricultural Extension and Home Economics

  • 47

  • สาขาคหกรรมศาสตร์

  • 2552

  • บุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์
    สุรพงษ์ อนุตธโต
    นิสิต บุญเพ็ง
    อัจฉรีย์ เตโชฬาร

  • 978-974-660-345-4

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 64-71

  • 188 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E70-การค้า/การตลาด

  • เกษตรกร;ประเทศไทย;การรับรองคุณภาพพืช;การควบคุมคุณภาพ;แหล่งผลิต;ความปลอดภัยทางอาหาร;ฟาร์ม;การประเมินผล;ความพอใจในงาน

  • Farmers;Thailand;Plant certification;Quality controls;Production location;Food safety;Farms;Evaluation;Work satisfaction

  • เกษตรกร;เกษตรดีที่เหมาะสม;การรับรองแหล่งผลิตพืช;ความปลอดภัยด้านอาหาร;ฟาร์มเกษตรกร;การตรวจประเมินผล;ความพึงพอใจ;ภาคเหนือตอนล่าง;ประเทศไทย

  • Good agricultural practice;GAP certification

  • การรับรองแหล่งผลิต GAP พืช เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของกรมวิชาการเกษตร ที่นำมาใช้ดำเนินการตามนโยบาย ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการในเขต พื้นที่ภาคเหนือตอนล่างซึ่งประกอบด้วย 7 จังหวัดคือ กำแพงเพชร ตาก พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัยและอุตรดิตถ์ โดยมีขั้นตอนตั้งแต่ การรับสมัคร การขึ้นทะเบียน การให้ความรู้ การตรวจประเมิน และการให้การรับรองฟาร์มเกษตรกร ซึ่งเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2547-2551 พบว่า มีฟาร์มเกษตรกรผ่านการตรวจประเมิน จำนวน 84,887 ฟาร์ม 63,338 ราย มีพื้นที่ 880,283.90 ไร่ ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการรับรองแหล่งผลิตพืช จำนวน 83,947 ฟาร์ม 62,541 ราย พื้นที่ 871,189.70 ไร่ ใบรับรองแหล่งผลิตพืชที่ยังไม่หมดอายุ 55.66 เปอร์เซ็นต์ จากฟาร์มที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด เกษตรกรที่ผ่านการรับการรับรองตั้งปี 2549 สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกปฏิบัติตามระบบได้อย่างดีเยี่ยม 2.56 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มที่สองปฏิบัติได้ดี 82.56 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มที่สามปฏิบัติได้พอใช้ 14.88 เปอร์เซนต์ และจากการศึกษาความพึงพอใจของเกษตรกรที่ผ่านการรับรองแหล่งผลิต GAP พืชในเขตภาคเหนือตอนล่างต่อการดำเนินงานของผู้ตรวจประเมินในภาพรวม เกษตรกรมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาความพึงพอใจของเกษตรกรด้านประโยชน์ที่ได้รับการจากบริการ เกษตรกรมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

  • GAP Certification for crops was the one strategy of the Department of Agriculture and complied with food safety policy. The office of Agricultural Research and development Region 2 was responsible for GAP certification in 7 provinces of Lower Northern Thailand are Kampaengpet, Tak, Phichit, Phitsanulok, Petchaboon, Sukhothai and Utaradit. The process of GAP certification consisted of application, registration, training, initial audit and farm certification. The results between the year 2004-2008 shown 84,887 farms 63,338 farmers 880,283.90 rai were audited, and shown 83,947 farms 62,541 farmers 880,283.90 rai were certified by certification committee but remained only 55.66 percent of farms which certificates were valid. There were 3 groups of certified farmers, first group was 2.56 percent of farmers who could practice excellent, second group was 82.56 percent of farmers who could practice well, and third group was 14.88 percent of farmers who could practice fairly. The farmer's level of satisfaction for the service of the auditors was high.

  • [1] บุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์ (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 2)
    [2] สุรพงษ์ อนุตธโต (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 2)
    [3] นิสิต บุญเพ็ง (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 2)
    [4] อัจฉรีย์ เตโชฬาร (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 2)

  • [1] Boonlert Sa-artsittisak (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Office of Agricultural Research and Development 2)
    [2] Surapong Anuttato (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Office of Agricultural Research and Development 2)
    [3] Nisit Boonpeng (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Office of Agricultural Research and Development 2)
    [4] Atcharee Techolan (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Office of Agricultural Research and Development 2)

394 166

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

บุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์ และคนอื่นๆ. (2552). การรับรองแหล่งผลิต GAP พืชในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


บุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์ และคนอื่นๆ. "การรับรองแหล่งผลิต GAP พืชในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2552.

บุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์ และคนอื่นๆ. (2552). การรับรองแหล่งผลิต GAP พืชในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.