Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 48-55

  • 188 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E80-คหกรรมศาสตร์

  • C20-การส่งเสริม

  • ภูมิปัญญาพื้นบ้าน;เกษตรกร;การผลิต;ประเทศไทย;กระบวนการผลิต;ผ้าคลุม;การรวบรวมข้อมูล;การสัมภาษณ์;กิจกรรมการส่งเสริม;คุณภาพ;การตลาด

  • Indigenous knowledge;Farmers;Production;Thailand;Processing;Cloches;Data collection;Interviews;Extension activities;Quality;Marketing

  • สิ่งทอพื้นเมือง;ภูมิปัญญาไทย;เกษตรกร;กลุ่มผู้ผลิต;การทอผ้า;การถ่ายทอดภูมิปัญญา;คุณภาพผลิตภัณฑ์;การตลาด;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ;ประเทศไทย

  • Native textiles;Thai wisdom

  • วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาศักยภาพภูมิปัญญาไทยด้านสิ่งทอพื้นเมืองของกลุ่มผู้ผลิต ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ผลิต จำนวน 68 กลุ่ม ใน 18 จังหวัดของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มผู้ผลิตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีศักยภาพด้านสิ่งทอพื้นเมือง โดยรวมระดับสูง โดยมีศักยภาพด้านความเข้มแข็งของกลุ่ม การถ่ายทอดภูมิปัญญา การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การ ฟอกย้อม การเตรียมเส้นด้ายในระดับสูง มีศักยภาพด้านการตลาด คุณภาพผลิตภัณฑ์ การจัดหาวัตถุดิบ การ ผลิตเส้นด้าย การทอ การออกแบบลวดลายผ้าและผลิตภัณฑ์ และการผลิตเพื่อจำหน่ายในระดับปานกลาง และมีศักยภาพด้านการตัดเย็บผลิตภัณฑ์ในระดับต่ำ

  • Objective of this research was to determine potential level of Thai wisdom in native textiles of weaving groups in the Northeastern Region of Thailand. Data were collected from 68 weaving groups in 18 provinces by interviewing. The research findings indicated that Northeastern Thailand weaving groups had high level of total potential in native textiles. The potential in group strength, wisdom transferring, product development, dyeing and yarn preparing were at high level. The potential in marketing, product quality, raw materials acquiring, yarn producing, weaving, pattern and product designing and producing for selling were at moderate level. Whereas the potential in product construction was at low level.

  • [1] ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [2] กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณยวัทน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาอาชีวศึกษา)
    [3] สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [4] รุ่งทิพย์ ลุยเลา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [5] ชุติมา ชวลิตมณเฑียร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)

  • [1] Kajijarus Piromthamsiri (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [2] Kulkanit Rashainbunyawat (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Education. Department of Vocational Education)
    [3] Suteeluk Kraisuwan (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [4] Roongtip Luilao (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [5] Chutima Chawalitmontien (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)

306 117

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ และคนอื่นๆ. (2552).
           ศักยภาพภูมิปัญญาไทยด้านสิ่งทอพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ และคนอื่นๆ. "ศักยภาพภูมิปัญญาไทยด้านสิ่งทอพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2552.

ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ และคนอื่นๆ. (2552).
           ศักยภาพภูมิปัญญาไทยด้านสิ่งทอพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.