-
รายงานเบื้องต้นการเปรียบเทียบผลการตัดหัวและคอกระดูกฟีเมอร์เพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับการใส่เอ็นยึดสะโพกในสุนัขข้อสะโพกหลุด
-
Early report on a comparison study between femoral head and neck excision without or with single sling suture method in hip luxated dogs
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาสัตวแพทยศาสตร์
-
Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Veterinary Medicine
-
47
-
สาขาสัตวแพทย์
-
2552
-
978-974-660-337-9
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47
-
กรุงเทพฯ
-
17-20 มี.ค. 2552
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 24-30
-
342 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
L74-ความผิดปกติของสัตว์
-
L70-สัตวแพทยศาสตร์
-
สุนัข;ภาวะข้อเคลื่อน;กระดูกแขนขา;การตัดออก;การผ่าตัด
-
Dogs;Dislocations;Limb bones;Excision;Surgical operations
-
สุนัข;ข้อสะโพกหลุด;กระดูกฟีเมอร์;การผ่าตัด;การใส่เอ็นยึดสะโพก;การรักษา
-
Dogs;FHNE;Single sling;Hip luxation
-
การศึกษาเปรียบเทียบผลการตัดหัวและคอกระดูกฟีเมอร์เพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับการใส่เอ็นยึดสะโพกในสุนัขข้อสะโพกหลุดที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า 20 กิโลกรัม ทำการศึกษาในสุนัข 10 ตัว แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 5 ตัว พบว่าสาเหตุข้อสะโพกหลุดในสุนัขที่ศึกษามาจากอุบัติเหตุ อายุเฉลี่ยของสุนัขกลุ่มแรกและกลุ่มที่สองคือ 2.5+-0.9 และ 3.7+-0.7 ปีตามลำดับ น้ำหนักตัวเฉลี่ยของสุนัขกลุ่มแรกมีค่าน้อยกว่ากลุ่มที่สองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (24.4+-3.5 และ 32.6+-3.1 กิโลกรัม ตามลำดับ) ระยะเวลาที่เกิดปัญหาจนถึงวันผ่าตัดไม่แตกต่างกันระหว่าง 2 กลุ่ม โดยมีค่า 15+-5 และ 13+-2 วัน ตามลำดับ การเปรียบเทียบระดับความเจ็บของขา (ระดับ 1-4) หลังการผ่าตัด 1 เดือน พบว่าไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่ม (ระดับความเจ็บขา 2+-0.35 และ 2.2+-0.22 ตามลำดับ) และระยะเวลาภายหลังการผ่าตัดจนสุนัขเดินได้ดีใกล้เคียงปกติ (เจ็บขาระดับ 1) ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มเช่นกัน (2.5+-0.3 และ 2.8+-0.5 เดือน ตามลำดับ) โดยสรุปการผ่าตัดร่วมระหว่าง FHNE และ single sling เป็นทางเลือกในการรักษาสุนัขที่มีปัญหาข้อสะโพกเคลื่อนหลุดและน้ำหนักตัวมาก
-
Comparison study between the surgical outcomes of a femoral head and neck excision (FHNE) without or with single sling suture method in 10 hip luxated dogs with body weight over 20 kgs. Dogs were divided into 2 groups 5 each. The most common cause of hip luxation in the studied dogs was the accident. The average age of dogs in the first and second groups were 2.5+-0.9 and 3.7+-0.7 year-old, respectively. The average body weight of the first group were significantly lower than in the second group (24.4+-3.5 and 32.6+-3.1 kg., respectively). The durations before treatment were not different between groups (15+-5 and 13+-2 days, respectively). The lameness score (1-4 scales) at 1 month after surgery were not different between groups (2+-0.35 and 2.2+-0.22, respectively). The time required for dogs to have a nearly normal gait (lameness grade I) were not different between groups (2.5+-0.3 and 2.8+-0.5 months, respectively). In conclusion, FHNE together with single sling is an alternative procedure for a treatment of a heavy dog with hip luxation.
-
[1] ณัฏฐิกา โกฎแสง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
[2] ณัฐวรรณ นิยติวัฒน์ชาญชัย (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
[3] นริศ เต็งชัยศรี (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลสัตว์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
-
[1] Nattika Goatsang (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Kasetsart Veterinary Teaching Hospital)
[2] Nutawan Niyatiwatchanchai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Kasetsart Veterinary Teaching Hospital)
[3] Naris Thengchaisri (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Kasetsart Veterinary Teaching Hospital)
ณัฏฐิกา โกฎแสง. (2552).
รายงานเบื้องต้นการเปรียบเทียบผลการตัดหัวและคอกระดูกฟีเมอร์เพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับการใส่เอ็นยึดสะโพกในสุนัขข้อสะโพกหลุด.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
ณัฏฐิกา โกฎแสง.
"รายงานเบื้องต้นการเปรียบเทียบผลการตัดหัวและคอกระดูกฟีเมอร์เพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับการใส่เอ็นยึดสะโพกในสุนัขข้อสะโพกหลุด".
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
2552.
ณัฏฐิกา โกฎแสง. (2552).
รายงานเบื้องต้นการเปรียบเทียบผลการตัดหัวและคอกระดูกฟีเมอร์เพียงอย่างเดียวหรือร่วมกับการใส่เอ็นยึดสะโพกในสุนัขข้อสะโพกหลุด.
กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.