-
การพัฒนาสื่อด้านทักษะชีวิต: กิจกรรมการซื้ออาหารเพื่อการเรียนรู้เฉพาะบุคคลของนักเรียนออทิสติกที่มีระดับค่อนข้างรุนแรง
-
Developing individual strategies for life skills: Buying foods for severe autistic students
-
เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์
-
Proceedings of 46th Kasetsart University Annual Conference: Education, Humanities and Social Sciences, Economics and Business Administration, Agricultural Extension and Home Economics
-
46
-
สาขาศึกษาศาสตร์
-
2551
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46
-
กรุงเทพฯ
-
29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 29-36
-
669 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
นักเรียนออทิสติก;ระดับรุนแรง;สื่อบัตรภาพ;การพัฒนาทักษะชีวิต;การซื้ออาหาร;พฤติกรรม;การพึ่งพาตนเอง
-
Autistic students;Developing life skills;Pictures;Behaviour;Sensory dysfunction
-
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บัตรภาพเฉพาะบุคคลเป็นสื่อการฝึกพัฒนาทักษะชีวิต ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการซื้ออาหารของนักเรียนออทิสติกที่มีระดับค่อนข้างรุนแรง รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ปฏิบัติการวิจัยตั้งแต่ 16 กรกฎาคม - 14 กันยายน 2550 นักวิจัยพัฒนาสื่อบัตรภาพจากการให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแสดงแบบและเลือกภาพของตนเอง จากนั้นประดิษฐ์สื่อบัตรให้มีลำดับขั้นตอนของกิจกรรมซื้ออาหาร การวิจัยพบว่าสื่อบัตรภาพมีผลพัฒนานักเรียนในการแสดงพฤติกรรมที่ถูกต้อง สื่อบัตรภาพจะช่วยกระตุ้นนักเรียนระลึกถึงภาพพฤติกรรมที่สื่อความหมายเฉพาะตนเอง ถึงแม้ถอดสื่อบัตรภาพออกและไม่พูดย้ำทวน นักเรียนยังคงแสดงการปฏิบัติที่ถูกขั้นตอนอย่างถาวรได้ จากข้อมูลนักเรียนออทิสติกที่มีระดับอาการค่อนข้างรุนแรง เริ่มแสดงพฤติกรรมการซื้ออาหารที่ถูกต้องในการฝึกครั้งที่ 3 จากการฝึกทั้งสิ้นจำนวน 18 ครั้ง และการฝึกอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาขึ้นอย่างคงทน นอกจากนี้อุปสรรคต่อการเรียนรู้ของนักเรียน คือ ภาวะอาการกระตุ้นตนเองอย่างมาก จะส่งผลทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ล่าช้า และกระบวนการที่ยากที่สุดสำหรับนักเรียน คือ ขั้นตอนการจ่ายเงิน เพื่อให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะชีวิต จนมีภาวะพึ่งพาตนเองได้ ผู้วิจัยจะพัฒนาสื่อและปฏิบัติการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
-
[1] สุพัตรา วงศ์วิเศษ แอนดราดี (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา)
-
[1] Supattra Wongwisate Andrade (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Kasetsart University Laboratory School. Center for Educational Research and Development)
สุพัตรา วงศ์วิเศษ แอนดราดี. (2551). การพัฒนาสื่อด้านทักษะชีวิต:
กิจกรรมการซื้ออาหารเพื่อการเรียนรู้เฉพาะบุคคลของนักเรียนออทิสติกที่มีระดับค่อนข้างรุนแรง.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
สุพัตรา วงศ์วิเศษ แอนดราดี. "การพัฒนาสื่อด้านทักษะชีวิต:
กิจกรรมการซื้ออาหารเพื่อการเรียนรู้เฉพาะบุคคลของนักเรียนออทิสติกที่มีระดับค่อนข้างรุนแรง". กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2551.
สุพัตรา วงศ์วิเศษ แอนดราดี. (2551). การพัฒนาสื่อด้านทักษะชีวิต:
กิจกรรมการซื้ออาหารเพื่อการเรียนรู้เฉพาะบุคคลของนักเรียนออทิสติกที่มีระดับค่อนข้างรุนแรง.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.