-
การศึกษาระบบการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์บนพื้นที่ลาดชันในภาคเหนือของประเทศไทย
-
Study on conservation cropping systems on sloping land in northern Thailand
-
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3-6 กุมภาพันธ์ 2536
-
Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Home Economics, Science, Engineering, Agro-Industry, Economics and Business Administration, Education, Humanities, Natural Resources and Environmental Economics
-
31
-
สาขาทรัพยากรธรรมชาติ
-
2536
-
0858-4583
-
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
-
กรุงเทพฯ
-
หน้า 547-556
-
683 หน้า
-
ไทย
-
Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand
-
P36-การปรับปรุงดิน
-
SLOPING LAND;SOIL CONSERVATION;WATER CONSERVATION;CROPPING SYSTEMS;GRASSES;VARIETIES;COST BENEFIT ANALYSIS;THAILAND
-
ระบบการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์;พื้นที่ลาดชัน;การอนุรักษ์ดินและน้ำ;การปลูกพืชแบบผสมผสาน;หญ้า;พันธุ์;ผลตอบแทน;ภาคเหนือ
-
ระหว่างปี 2531-2534 ฝ่ายวิชาการ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ทำการศึกษาระบบการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์ฯเพื่อที่จะหารูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมในการรักษาถาวรภาพทางการผลิตบนพื้นที่ลาดชันในภาคเหนือของประเทศไทย จากการศึกษาพบว่า มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ เช่นการใช้แถบไม้พุ่มและแนวแถบหญ้าสามารถลดการสูญเสียดินและน้ำต่ำกว่าระดับที่ยอมรับให้เกิดขึ้นได้ และให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงกว่าการปลูกพืชแบบเกษตรกรนิยม นอกจากนี้ยังพบว่า การจัดการอื่น ๆ เช่น การไถเตรียมดินและการปลูกพืชตามแนวระดับ, การปลูกพืชสลับเป็นแถว, การไถเตรียมดินน้อยครั้ง และการใช้เศษซากที่เหลือของพืชเป็นวัสดุคลุมดินก็เป็นวิธีการที่ช่วยลดอัตราการชะล้างพังทลายของดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินได้ดี เหมาะสมกับการเกษตรพื้นที่ลาดชันและเป็นแนวทางนำมาสู่ระบบการเกษตรแบบถาวร ผลการศึกษาที่ได้ควรทำการเร่งรณรงค์และสนับสนุนให้เกษตรกรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ลาดชันให้หันมายอมรับระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานในเชิงอนุรักษ์ฯให้มากขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรดินและทรัพยากรน้ำต่อไป
-
During the 1988-1991 period, the Office of Land Development Region 6 Department of Land Development, the Ministry of Agriculture has launched a research project experimenting on the farming systems. Which aimed at searching for an appropriate conservation cropping systems with emphasis on soil and water conservation for sustainable agriculture on the sloping land of northern Thailand. The results showed that soil conservation measures such as alley cropping and grass strip cropping reduced soil loss and run-off significantly lower than tolerant levels. As far as economic returns was concerned, it was found that the alley cropping and grass strip cropping were more superior than farmers practices. Furthermore, conservation cropping system such as contour ploughing, contour planting, strip cropping, minimum tillage, and the use of crop residues as mulch to control erosion and improve the soil productivity were found to be quite appropriate for the sloping land in Northern Thailand. Campaigns have been launched in order to encourage the upland and highland farmers to accept and adopt the integrated farming systems for soil and water conservation.
-
[1] พิทักษ์ อินทะพันธ์ (กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6)
[2] สนั่น เผือกไร่
[3] สวัสดี บุญชี
-
[1] Phithag Inthapan (Land Development Dept., Bangkok (Thailand). Office of Land Development Region 6)
[2] Sanan Peukrai
[3] Sawatdee Boonchee
พิทักษ์ อินทะพันธ์. (2536). การศึกษาระบบการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์บนพื้นที่ลาดชันในภาคเหนือของประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
พิทักษ์ อินทะพันธ์. "การศึกษาระบบการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์บนพื้นที่ลาดชันในภาคเหนือของประเทศไทย".
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.
พิทักษ์ อินทะพันธ์. (2536). การศึกษาระบบการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์บนพื้นที่ลาดชันในภาคเหนือของประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.