• การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของเทคโนโลยีการปลูกข้าวญี่ปุ่น ในภาคเหนือของประเทศไทย

  • Socio-economic impact of japonica rice production technology on farmers in northern Thailand

  • วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์

  • Kasetsart Journal : Social Sciences (Thailand)

  • ม.ค.-มิ.ย. 2542

  • 0125-8370

  • 2542

  • ไพบูลย์ สุทธสุภา

  • ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 11-16

  • ไทย

  • E14-เศรษฐศาสตร์การพัฒนา

  • F01-การผลิตพืช

  • E50-ชนบท

  • ORYZA SATIVA;FARMERS;TECHNOLOGY TRANSFER;PRODUCTION;SOCIOECONOMIC ENVIRONMENT;THAILAND

  • ข้าวญี่ปุ่น;เทคโนโลยี;การปลูก;เกษตรกร;การยอมรับ;ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม;ภาคเหนือ

  • การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบดัชนีการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกข้าวของเกษตรกรหาความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลังปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรกับดัชนีการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกข้าวญี่ปุ่น หาสาเหตุของเกษตรกรผู้ไม่ยอมรับการปลูกข้าวญี่ปุ่น ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการปลูกข้าวญี่ปุ่นของเกษตรกรประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวญี่ปุ่นที่อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย จำนวน 186 ราย และเกษตรกรที่ไม่ปลูกข้าว จำนวน 186 ราย จากการวิจัยพบว่า อายุ แรงงานในครัวเรือน การติดต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริม และการรับฟังวิทยุ มีความสัมพันธ์กับดัชนีการยอมรับเทคโนโลยีการปลูกข้าวญี่ปุ่นของเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 แสดงว่าการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมและการรับฟังวิทยุทำให้เกษตรกรยอมรับการปลูกข้าวญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น และการปลูกข้าวญี่ปุ่นมีความเหมาะสมกับเกษตรกรรายย่อยที่มีอายุต่ำ นอกจากนี้ยังได้พบอีกว่าผลผลิตต่อไร่ของข้าวญี่ปุ่นสูงกว่าข้าวพันธุ์พื้นเมืองและมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่าผู้ปลูกข้าวญี่ปุ่นจะได้ผลผลิตต่อไร่และมีรายได้สูงกว่าผู้ปลูกข้าวพันธุ์พื้นเมืองนั่นเอง

  • Objectives of this research were to compare the adoption index of rice production technology, to analyse the relationship between background, socio-economic factors of Japonica rice farmers and adoption index, to investigate problems and obstacles in growing Japinica rice, and to find out reasons for not growing Japonica rice. Population studied were 186 Japonica rice farmers and 186 non-Japonica rice farmers in Mae Chan District, Chiang Rai. Age, family labor, extension contact and listening to radio had significant effect upon adoption index at the 0.01 level. This is shown that the farmers contacted with extension agents and listened to radio. They tended to adopt more Japonica rice. Growing Japonica rice was suitable for young farmers. It was also found that rice yield per rai and farm income of Japonica rice growers and non-Japonica rice growers were significantly different, and that Japonica rice growers obtained more yield per rai and farm income than non-Japonica rice growers.

  • [1] ไพบูลย์ สุทธสุภา (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร)

  • [1] Paiboon Suthasupa (Chiang Mai Univ., Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agriculture. Dept. of Agricultural Extension)

261 116

  ไฟล์ดิจิทัล

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

ไพบูลย์ สุทธสุภา. (2542). การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของเทคโนโลยีการปลูกข้าวญี่ปุ่น
           ในภาคเหนือของประเทศไทย
.  วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 20 (1) ,11-16


ไพบูลย์ สุทธสุภา. "การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของเทคโนโลยีการปลูกข้าวญี่ปุ่น
           ในภาคเหนือของประเทศไทย" วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 20, 2542, 11-16.

ไพบูลย์ สุทธสุภา. (2542). การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของเทคโนโลยีการปลูกข้าวญี่ปุ่น
           ในภาคเหนือของประเทศไทย
.  วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 20 (1) ,11-16