• แบบจำลองทางเศรษฐมิติของยางพาราไทย

  • Econometric model of Thai para rubber

  • วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์

  • Kasetsart Journal (Social Sciences) (Thailand)

  • ม.ค.-มิ.ย. 2537

  • 0125-8370

  • 2537

  • รสดา เวษฎาพันธุ์

  • ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้า 56-65

  • http://kasetsartjournal.ku.ac.th/kuj_files/2010/A1009030941034218.pdf

  • ไทย

  • E10-เศรษฐกิจการเกษตร

  • E71-การค้าระหว่างประเทศ

  • RUBBER;ECONOMETRIC MODELS;INCOME;EXPORTS;PRICES;DEMAND;SUPPLY;GROSS NATIONAL PRODUCT;YIELDS;FARM AREA

  • ยางพารา;แบบจำลองทางเศรษฐมิติ;ประเทศคู่ค้า;รายได้;อุปสงค์;อุปทาน;ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น;ผลผลิต;การส่งออก;ราคา

  • การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างแบบจำลองทางเศรษฐมิติของยางพาราไทย และศึกษาผลกระทบเนื่องจากรายได้ของประเทศคู่ค้าที่สำคัญของไทยเพิ่มขึ้นต่ออุปทานและอุปสงค์ของยางพาราไทย ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์เป็นข้อมูลอนุกรมเวลา ช่วงปี 2518-2534 สมการทางด้านอุปทานใช้วิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบธรรมดาในการกะประมาณ ส่วนทางด้านอุปสงค์และความสัมพันธ์ระหว่างราคา ใช้การกะประมาณด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบ 2 ชั้นเพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรนโยบาย คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นที่ปรับด้วยดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศคู่ค้าที่สำคัญของประเทศไทยคือ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ และจีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ในช่วงปี 2518-2534 พบว่าเนื้อที่กรีดยางพาราได้ของไทยจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.41 ผลผลิตเฉลี่ยยางพาราต่อไร่ของไทยจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.34 ผลผลิตยางพาราทั้งหมดของไทยจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.76 ปริมาณการส่งออกยางพาราของไทยไปประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ และจีน จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.91 5.38 9.38 และ 26.99 ตามลำดับ ราคายางพาราที่เกษตรกรไทยขายได้และราคาส่งออกยางแผ่นรมควันชั้น 3 ของไทยไปตลาดโลกจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.82 และ 1.57 ตามลำดับ

  • Objectives of this study were to construct a Thai para rubber econometric model and to investigate the effect of increasing in incomes of Thai para rubber importing countries on the supply and demand of Thai para rubber. Time series data from 1975-1991 were employed in the analysis. On the supply model, the estimations employed the ordinary least squares. The components for demand and price relationships were estimated by using two-stage least squares. The model was used to examine the effect of increases in real gross national products of Thai para rubber importing countries by 10 percent during 1975-1991. The para rubber harvested area, yield per rai, total rubber production would increase by 0.41, 4.34, and 4.76 percent, respectively. The quantities of para rubber exports to Japan, U.S.A., Singapore and China would increase by 4.91, 5.38, 9.38 and 26.99 percent, respectively. The para rubber prices received by Thai farmers and export prices of grade 3 Thai para rubber smoked sheets would increase by 5.82 and 1.57 percent, respectively.

  • [1] รสดา เวษฎาพันธุ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์)

  • [1] Rosada Vesdapunt (Kasetsart Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Economics. Dept. of Economics)

963 459

  ไฟล์ดิจิทัล

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

รสดา เวษฎาพันธุ์. (2537). แบบจำลองทางเศรษฐมิติของยางพาราไทย.  วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 15 (1)
           ,56-65


รสดา เวษฎาพันธุ์. "แบบจำลองทางเศรษฐมิติของยางพาราไทย" วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 15, 2537, 56-65.

รสดา เวษฎาพันธุ์. (2537). แบบจำลองทางเศรษฐมิติของยางพาราไทย.  วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 15 (1)
           ,56-65