• ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 หน้า 11-21

  • http://www.tjf.forest.ku.ac.th

  • ไทย

  • K10-วิทยาการป่าไม้

  • Eucalyptus;โคลนพันธุ์;ผลผลิต;ธาตุอาหารพืช;มวลชีวภาพ;ประเทศไทย

  • Eucalyptus;Clones;Yields;Plant nutrition;Biomass;Thailand

  • ยูคาลิปตัส;ผลผลิต;ปริมาณสารอาหาร;มวลชีวภาพ;สายต้นยูคาลิปตัส;ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

  • Eucalyptus;Eucalypt clone;Yields;Nutrient content;Biomass;Upper northeast;Thailand

  • การศึกษาผลผลิตและปริมาณสารอาหารของยูคาลิปตัสอายุ 5 ปี ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ได้ดำเนินการศึกษาใน 3 พื้นที่ 1) อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี (WM) 2) อำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม (BP) 3) อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ (SK) วางแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ (randomized complete block design, RCBD) จำนวน 3 บล็อก (block) บล็อกละ 5 สายต้น สายต้นละ 16 ต้น ในแต่ละสายต้นมีระยะปลูก 3×3 เมตร ซึ่งสายต้นที่ศึกษา ได้แก่ SF1, SF2, SF3, SF4 และ SF5 ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่อำเภอวังสามหมอ สายต้น SF5 มีผลผลิตมวลชีวภาพเหนือพื้นดินมากที่สุด (144.59 ตันต่อเฮกแตร์) และพื้นที่อำเภอบ้านแพง สายต้น SF1 มีผลผลิตมวลชีวภาพเหนือพื้นดินมากที่สุด (129.73 ตันต่อเฮกแตร์) ส่วนพื้นที่อำเภอเซกา สายต้น SF4 มีผลผลิตมวลชีวภาพเหนือพื้นดินมากที่สุด (158.26 ตันต่อเฮกแตร์) โดยพบว่า ความแตกต่างของยูคาลิปตัสแต่ละสายต้นมีผลต่อปริมาณผลผลิตมวลชีวภาพเหนือพื้นดินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การสะสมสารอาหารในยูคาลิปตัสทั้ง 5 สายต้น พบว่า ปริมาณแคลเซียมมีการสะสมมากที่สุด รองลงมาคือ ไนโตรเจน โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม ซึ่งมีแนวโน้มเดียวกันทั้ง 3 พื้นที่ และพบว่าใบมีความเข้มข้นของสารอาหารมากที่สุด รองลงมาคือ กิ่ง และลำต้น ซึ่งลำต้นจะเป็นส่วนที่มีการสะสมสารอาหารมากที่สุดเนื่องจากมีมวลชีวภาพมากที่สุด และการสะสมสารอาหารจะแปรผันตามสายต้นและ/หรือลักษณะพื้นที่

  • The yield and nutrient content of various 5-year-old eucalypt clones in the upper northeast of Thailand were investigated at three sites-namely, Wang Sam Mo, Udon Thani province (WM), Ban Phaeng, Nakhon Phanom province (BP) and Seka, Bueng Kan province (SK). A randomized complete block design (RCBD) with 3 blocks was applied. There were 5 clones (total 16 trees per clone) in each block with 3x3 m spacing. For this study 5 eucalypt clones were used consisting of SF1, SF2, SF3, SF4 and SF5. The results showed that the aboveground biomass of SF5 eucalypt clone was the highest at WM as 144.59 t.ha-1, while at BP, SF1 clone was the highest (129.73 t.ha-1) and at SK, SF4 clone was the highest (158.26 t.ha-1). The above ground biomass of various eucalypt clones were statistically significant differences. The highest nutrient content accumulation in the 5 eucalypt clones was calcium and the next high accumulation in order were nitrogen, phosphorus, potassium and magnesium, respectively. The same trend was evident at all 3 sites. The highest nutrient concentration was in the leaf followed by the branch and stem, respectively. The accumulation of nutrient was the highest in the stem because the stem had the highest biomass production and it was varied according to the clone and/or site.

  • [1] มานะ หนูแก้ว (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [2] รุ่งเรือง พูลศิริ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [3] มะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันติ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร)
    [4] พัฒนา ชมภูวิเศษ (บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำกัด (มหาชน) น้ำพอง ขอนแก่น)

  • [1] Mana Hnukaew (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [2] Roongreang Poolsiri (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [3] Maliwan Haruthaithanasan (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute)
    [4] Phattana Chompoowiset (Phoenix Pulp and Paper Public Co., Ltd., Nam Phong, Khon Kaen (Thailand))

252 129
  
 

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

มานะ หนูแก้ว และคนอื่นๆ. (2558). ผลผลิตและปริมาณสารอาหารของยูคาลิปตัสสายต้นต่างๆ อายุ 5 ปี
           ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
.  วารสารวนศาสตร์, 34 (2) ,11-21


มานะ หนูแก้ว และคนอื่นๆ. "ผลผลิตและปริมาณสารอาหารของยูคาลิปตัสสายต้นต่างๆ อายุ 5 ปี
           ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน" วารสารวนศาสตร์, 34, 2558, 11-21.

มานะ หนูแก้ว และคนอื่นๆ. (2558). ผลผลิตและปริมาณสารอาหารของยูคาลิปตัสสายต้นต่างๆ อายุ 5 ปี
           ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
.  วารสารวนศาสตร์, 34 (2) ,11-21