• การพัฒนาของดอกไม้ตะเคียนทอง

  • Kan phatthana khong dokmai takhianthong

  • วารสารวนศาสตร์

  • Thai Journal of Forestry (Thailand)

  • ม.ค.-ธ.ค. 2540

  • ISSN 0857-1724

  • 2540

  • สุดารัตน์ วิสุทธิเทพกุล
    พิศาล วสุวานิช

  • ปีที่ 16 ฉบับที่ 1-2 หน้า 99-105

  • ไทย

  • F63-พันธุศาสตร์พืช

  • HOPEA;FLOWERS;OVARIES;OVA

  • ตะเคียนทอง;การพัฒนาของดอก;ตาดอก;ส่วนประกอบของดอก;รังไข่;ไข่;EMBRYO SAC;ไซโกต;เอมบริโอ;เกสรตัวผู้;เกสรตัวเมีย

  • การศึกษาการพัฒนาของดอกไม้ตะเคียนทอง ได้ทำตั้งแต่ระยะการเป็นตาดอกจนกระทั่งดอกได้รับการผสมพันธุ์ โดยทำการเก็บตัวอย่างตั้งแต่กลางเดือนธันวาคม 2538 ถึงปลายเดือนมกราคม 2539 ดอกย่อยแต่ละดอกเป็นดอกสมบูรณ์ ประกอบด้วย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมีย ในระยะดอกตูม เกสรตัวผู้ มีการเจริญมาจากเนื้อเยื่อส่วนกลาง และเจริญพัฒนาเป็นอับละอองเกสรตัวผู้และก้านชูเกสรผู้ตัว เมื่อดอกมีขนาดใหญ่ขึ้น sporogenous cells ได้มีการแบ่งเซลล์และพัฒนาเป็นละอองเกสรตัวผู้อยู่ภายในอับละอองเกสร ในขณะเดียวกันเกสรตัวเมีย มีการเจริญมาจากเนื้อเยื่อส่วนกลางแล้วพัฒนาไปเป็น ยอดเกสรตัวเมีย ก้านเกสรตัวเมีย และรังไข่ ภายในรังไข่มี 6 ovule บรรจุใน 3 locule โดยเรียงตัวแบบ anatropous ovule ในระยะดอกบาน megaspore mothercell ของแต่ละ ovule จะมี การแบ่งเซลล์ จนเป็น linear tetrad megaspore และ 1 ใน 4 เซลล์นี้ พัฒนาต่อไป เป็น embryo sac ภายใน embryo sac มี 8 nuclei ได้แก่ egg apparatus, 2 polar nuclei และ 3 antipodal จากการพัฒนาของดอกตั้งแต่ระยะตาดอกจนกระทั่งดอกได้รับการผสมแล้วใช้เวลา 40-45 วัน หลังจากการผสมเกสรแล้ว egg เจริญไปเป็น zygote และ zygote มีการแบ่งเซลล์เป็น embryo ที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายตัว "T" อยู่ภายใน ovule

  • Floral development of Hopea odorata Roxb. was carried out from mid December 1995 to late January 1996. The investigation started from flower initiation to fertilization. An individual flower of H. odorata was a perfect flower composed of calyx, corolla, androecium and gymnoecium. During the early stage of development, stamens initiated from a central primordium of the young flower and formed anthers and filaments. In the late stage, the sporogenous cells developed into pollen grains. The pistil was formed from central meristem at the same time as the anther formed. It consisted of a stigma, a style and an ovary. There were six anatropous ovules superposed in three locules. At the anthesis, the megaspore mother cells produced a linear tetrad megaspore. One of four megaspores was functioned and formed the embryo sac with 8 nuclei. There were egg apparatus, two polar nuclei and three antipodal. The complete development process from the flower initiation up to the fertilization took about 40-45 days. After fertilization, the egg developed to be the zygote and differentiated into the "T" shape embryo in the ovule.

  • [1] สุดารัตน์ วิสุทธิเทพกุล (กรมป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ ส่วนวนวัฒนวิจัย)
    [2] พิศาล วสุวานิช (กรมป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ ส่วนวนวัฒนวิจัย)

  • [1] Sudarat Visuthitepkul (Royal Forest Dept., Bangkok (Thailand). Forest Research Office. Silviculture Research Div.)
    [2] Pisal Wasuwanich (Royal Forest Dept., Bangkok (Thailand). Forest Research Office. Silviculture Research Div.)

232 142
  
 

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุดารัตน์ วิสุทธิเทพกุล และ พิศาล วสุวานิช. (2540). การพัฒนาของดอกไม้ตะเคียนทอง.  วารสารวนศาสตร์, 16 (1-2) ,99-105


สุดารัตน์ วิสุทธิเทพกุล และ พิศาล วสุวานิช. "การพัฒนาของดอกไม้ตะเคียนทอง" วารสารวนศาสตร์, 16, 2540, 99-105.

สุดารัตน์ วิสุทธิเทพกุล และ พิศาล วสุวานิช. (2540). การพัฒนาของดอกไม้ตะเคียนทอง.  วารสารวนศาสตร์, 16 (1-2) ,99-105