• แนวทางการจัดการไฟป่าในป่าชุมชน ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

  • Guidelines for forest fire management in community forest at Mae Pong sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai province

  • วารสารวนศาสตร์ไทย

  • Thai Journal of Forestry

  • ม.ค.-มิ.ย. 2567

  • 2730-2180

  • 2567

  • ศิโรรัตน์ ขุนทอง
    นิตยา เมี้ยนมิตร
    กอบศักดิ์ วันธงไชย

  • ปีที่ 43 ฉบับที่ 1 หน้า 87-97

  • https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjf/index

  • ไทย

  • K70-การทำลายป่า

  • E50-ชนบท

  • ชุมชน;ป่าชุมชน;ไฟป่า;การจัดการป่าไม้;การมีส่วนร่วมของชุมชน;การประชาสัมพันธ์;ประเทศไทย

  • Communes;Communal forests;Forest fires;Forest management;Community involvement;Public relations;Thailand

  • ชุมชน;ป่าชุมชน;ไฟป่า;การมีส่วนร่วมของชุมชน;การจัดการไฟป่า;การประชาสัมพันธ์;จ.เชียงใหม่ อ.ดอยสะเก็ด ต.แม่โป่ง;ประเทศไทย

  • Community forest;Community participation;Forest fire management;Knowledge;Public relations;Chiang Mai province;Thailand

  • การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สาเหตุการเกิดไฟป่า การจัดการไฟป่า ระดับการมีส่วนร่วม และความรู้เกี่ยวกับไฟป่าของประชาชนในตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อกำหนดแนวทางพัฒนาการจัดการไฟป่า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ จำนวน 320 ตัวอย่าง จากจำนวนประชากร 1,598 ครัวเรือน โดยใช้สูตรของ Yamane (1973) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม SWOT analysis และ TOWS matrix ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุการเกิดไฟป่าคือการลุกลามจากการเตรียมพื้นที่ทางการเกษตรของเกษตรกรที่อยู่รอบป่าชุมชน คิดเป็นร้อยละ 86.60 การจัดการไฟป่าของประชาชนโดยการป้องกันไฟป่า การเตรียมความพร้อมในการดับไฟ การตรวจหาไฟ การดับไฟป่า การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการไฟป่า ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย มีคะแนนเฉลี่ย 1.84 คะแนน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติ และด้านการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อยทุกด้าน มีคะแนนเฉลี่ย 1.79, 1.92 และ 1.82 คะแนน ตามลำดับ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับไฟป่าในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 64.30 สำหรับแนวทางการพัฒนาการจัดการไฟป่าอย่างมีส่วนร่วม มี 4 แนวทาง ได้แก่ 1) การอบรมพัฒนาให้ประชาชนมีความรู้ทางด้านทฤษฎีไฟป่าและการปฏิบัติขั้นพื้นฐาน 2) พัฒนาแผนการจัดการ มาตรการเกี่ยวกับไฟป่า 3) พัฒนาการประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ และ 4) พัฒนาการติดตามและประเมินผลการทำงานในกิจกรรมดำเนินการต่าง ๆ ของประชาชน

  • Factors were analyzed influenced forest fires, forest fire management, the level of community participation and knowledge about forest fires in Mae Pong Sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai province. The objective was to establish guidelines for the development of wildfire management. Data were collected based on interviews with 320 samples from a population of 1,598 households, with the sample number determined based on Yamane (1973). The data were analyzed using descriptive statistics, SWOT analysis and the TOWS matrix. The study found that the primary cause of forest fire was its spread from agricultural land preparation by farmers around community forests (86.60 percent). Community forest fire management involved prevention, readiness for extinguishing fires, fire detection, fire suppression and performance evaluation, while overall community participation in forest fire management was minimal, with an average score of 1.84. All three aspects of planning, operations and monitoring and evaluation were low level, with average scores of 1.79, 1.92, and 1.82, respectively. Overall understanding of forest fires was at a moderate level, (64.30 percent). Four approaches for the development of participatory forest fire management identified were: 1) Training to enhance community knowledge in forest fire theory and basic practices: 2) Developing management plans and measures related to forest fires: 3) Enhancing public relations in all forms: and 4) Developing monitoring and evaluation of community activities.

  • [1] ศิโรรัตน์ ขุนทอง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [2] นิตยา เมี้ยนมิตร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)
    [3] กอบศักดิ์ วันธงไชย (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์)

  • [1] Sirorat Khunthong (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [2] Nittaya Mianmit (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)
    [3] Kobsak Wanthongchai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry)

4
  
 

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

ศิโรรัตน์ ขุนทอง. (2567). แนวทางการจัดการไฟป่าในป่าชุมชน ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
           วารสารวนศาสตร์ไทย, 43 (1) ,87-97


ศิโรรัตน์ ขุนทอง. "แนวทางการจัดการไฟป่าในป่าชุมชน ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่"
           วารสารวนศาสตร์ไทย, 43, 2567, 87-97.

ศิโรรัตน์ ขุนทอง. (2567). แนวทางการจัดการไฟป่าในป่าชุมชน ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
           วารสารวนศาสตร์ไทย, 43 (1) ,87-97