• ปีที่ 41 ฉบับที่ 2 หน้า 93-108

  • https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tjf/index

  • 10.14456/tjf.2022.8

  • ไทย

  • K01-วนศาสตร์

  • F40-นิเวศวิทยาพืช

  • F70-อนุกรมวิธานพืช

  • ป่า;ประชากรพืช;กลุ่มพืช;หมู่ไม้ป่า;ความหลากหลายทางชีวภาพ;การจัดจำแนก;ชนิดดิน;ปัจจัยทางพื้นที่;ประเทศไทย

  • Forests;Plant population;Plant communities;Forest stands;Biodiversity;Identification;Soil types;Site factors;Thailand

  • ป่าชุมชน;พรรณไม้;สังคมพืช;ต้นประดู่;ต้นสัก;ต้นแดง;ต้นกระพี้จั่น;ต้นตะแบกเปลือกบาง;สมบัติของดิน;การจัดลำดับหมู่ไม้;การจัดจำแนกชนิด;ความหลากหลายทางชนิด;จ.แพร่ อ.ลอง

  • Community forest;Plant community;Pterocarpus macrocarpus;Tectona grandis;Xylia xylocarpa;Millettia brandisiana;Lagerstroemia duperreana;Soil properties;Species diversity;Phrae province

  • การศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะสังคมพืชกับปัจจัยดินสามารถช่วยให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการระบบนิเวศของป่าชุมชนได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบชนิดไม้ต้นและปัจจัยดินในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านปง อำเภอลอง จังหวัดแพร่ โดยการวางแปลงตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเป็นระบบ (systematic sampling) ขนาด 20 ม.*20 ม. จำนวน 24 แปลง พร้อมเก็บข้อมูลองค์ประกอบชนิดไม้ต้นและปัจจัยดิน ทำการวิเคราะห์การจัดกลุ่มหมู่ไม้ และการจัดลำดับหมู่ไม้ในโปรแกรม PC-Ord version 6 เพื่อใช้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยดินที่มีผลต่อการปรากฏของพรรณไม้ ผลการศึกษา พบชนิดไม้ทั้งหมดจำนวน 81 ชนิด 63 สกุล 26 วงศ์ มีค่าดัชนีความหลากชนิด เท่ากับ 3.71 ชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสำคัญสูงสุด 5 ลำดับแรก คือ ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) สัก (Tectona grandis) แดง (Xylia xylocarpa) กระพี้จั่น (Millettia brandisiana) และ ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) ตามลำดับ สามารถจำแนกสังคมพืชย่อยได้ 3 สังคมย่อย ได้แก่ สังคมประดู่และสักเด่น ที่ถูกกำหนดด้วยอนุภาคดินทราย สังคมแดงและสักเด่น ที่ถูกกำหนดด้วยอนุภาคดินเหนียวและทรายแป้ง และสังคมตะแบกเปลือกบางและทองหลางเด่น ไม่แสดงปัจจัยควบคุมที่ชัดเจน ผลจากการวิจัยนี้บ่งชี้ว่าปัจจัยดินเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดลักษณะสังคมพืช ดังนั้นในการจัดการป่าชุมชนบ้านปงจึงไม่ควรมุ่งเน้นไปที่ชนิดไม้เพียงอย่างเดียว ควรพิจารณาถึงปัจจัยแวดล้อมด้วยโดยเฉพาะปัจจัยดิน เนื่องจากปัจจัยดินอาจทำให้โครงสร้างสังคมพืชเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

  • The study of relationships existing between plant community characteristics and soil factors can help in furthering the understanding about ecosystem management of community forests. This study aimed to investigate the relationship between the tree species composition and soil factors in the Ban Pong community forest, Long district, Phrae province. Twenty-four sample plots, 20 m*20 m, size of each were set up using the systematic sampling method to collect tree species composition and soil properties data. Clustering and ordination of the plant community were analyzed using PC-Ord software (version 6) to identify the most significant soil factors affecting the presence of a species. In the sampled plots, 81 species in 63 genera and 26 families were identified, with a Shannon-Wiener index of 3.71. The top five dominant species based on the importance value index were Pterocarpus macrocarpus, Tectona grandis, Xylia xylocarpa, Millettia brandisiana, and Lagerstroemia duperreana, respectively. There were 3 sub-communities of dominant species which included Pterocarpus macrocarpus-Tectona grandis community, which was found on soils with sandy properties, Xylia xylocarpa-Tectona grandis community, which was found on soils with clay and silt texture, and Lagerstroemia duperreana-Erythrina subumbrans community, which did not have any such influences. The results suggest that soil properties are important factors that can determine the distribution characteristics of a plant community. As such, the management of Ban Pong community forest should not focus only on tree species, but on abiotic factors such as variability in soil texture as these may affect the structure of plant community.

  • [1] ณัฐนิชา นาคน้อย (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้)
    [2] ศิริวรรณ บาลจ่าย (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้)
    [3] กฤษดา พงษ์การัณยภาส (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาเกษตรป่าไม้)
    [4] วรรณอุบล สิงห์อยู่เจริญ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชารัฐศาสตร์)
    [5] วรรณา มังกิตะ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้)
    [6] มนตรี บรรจงการ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้)
    [7] กันตพงศ์ เครือมา (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้)
    [8] แหลมไทย อาษานอก (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ สาขาวิชาเกษตรป่าไม้)

  • [1] Natnicha Narkno (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Forest Management)
    [2] Siriwan Banjay (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Forest Management)
    [3] Kritsada Phongkaranyaphat (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Agroforestry)
    [4] Wannaubon Singyoocharoen (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Political Science)
    [5] Wanna Mangkita (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Forest Management)
    [6] Montree Banjongkarn (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Forest Management)
    [7] Kunthaphong Krueama (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Forest Management)
    [8] Lamthai Asanok (Maejo University. Phrae Campus, Phrae (Thailand). Program in Agroforestry)

102 176
  
 

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

ณัฐนิชา นาคน้อย และคนอื่นๆ. (2565). ลักษณะสังคมพืชและปัจจัยดินของป่าผสมผลัดใบ ในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านปง
           อำเภอลอง จังหวัดแพร่
.  วารสารวนศาสตร์ไทย, 41 (2) ,93-108


ณัฐนิชา นาคน้อย และคนอื่นๆ. "ลักษณะสังคมพืชและปัจจัยดินของป่าผสมผลัดใบ ในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านปง อำเภอลอง
           จังหวัดแพร่" วารสารวนศาสตร์ไทย, 41, 2565, 93-108.

ณัฐนิชา นาคน้อย และคนอื่นๆ. (2565). ลักษณะสังคมพืชและปัจจัยดินของป่าผสมผลัดใบ ในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านปง
           อำเภอลอง จังหวัดแพร่
.  วารสารวนศาสตร์ไทย, 41 (2) ,93-108