-
ผลของสาหร่ายสไปรูลิน่าต่อการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแล็กติก
-
Influence of Spirulina on lactic acid bacteria cultivation
-
วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
-
Journal of Food Research and Product Development
-
ก.ค.-ธ.ค. 2566
-
2821-9813
-
2566
-
วนิดา ปานอุทัย
กฤติน จุลนารา
จุฑามาศ อินคล้าย
จุฑาทิพย์ รวดเร็ว
ณัฐวดี แก้วเกลื่อน
-
ปีที่ 53 ฉบับที่ 2 หน้า 6-18
-
https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/JFRPD/article/view/5407
-
ไทย
-
Q02-การแปรรูปอาหาร
-
Q04-องค์ประกอบอาหาร
-
Lactobacillus;แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลคติค;การเพาะเลี้ยงเซลล์;เทคนิคการเพาะเลี้ยง;อาหารเพาะเลี้ยง;Spirulina platensis;Cyanobacteria;การหมักกรดแลคติก;การเติบโต;ปริมาณสารฟีนอลิค;สารยับยั้งการรวมตัวของออกซิเจน
-
Lactobacillus;Lactic acid bacteria;Cell culture;Culture techniques;Culture media;Spirulina platensis;Cyanobacteria;Lactic fermentation;Growth;Phenolic content;Antioxidants
-
แบคทีเรียแล็กติก;เชื้อแบคทีเรีย;การเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย;การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์;อาหารเลี้ยงเชื้อ;สาหร่ายสไปรูลิน่า;กระบวนการหมัก;การเจริญเติบโต;ไฟโคไซยานิน;ปริมาณฟินอลิกทั้งหมด;สารต้านอนุมูลอิสระ;ชีวผลิตภัณฑ์
-
Lactobacillus rhamnosus;Lactic acid bacteria;Microbial culture;Bacteria cultivation;Spirulina platensis;Fermentation;Growth;Phycocyanin;Total phenolic contents;Antioxidant;Bioproducts
-
สาหร่ายสไปรูลิน่าเป็นแหล่งอาหารที่มีการผลิตในเชิงพาณิชย์และถูกจัดเป็นอาหารที่มีความปลอดภัยสำหรับการบริโภคของมนุษย์ สาหร่ายสไปรูลิน่าได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากมีปริมาณโปรตีนสูง กรดอะมิโนจำเป็น กรดไขมัน และสารรงควัตถุที่สำคัญ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้ชีวมวลสาหร่ายสไปรูลิน่า Spirulina platensis IFRPD 1182 เป็นซับสเตรต (substrate) ในการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแล็กติก Lactobacillus rhamnosus ATCC 53103 พบว่า สาหร่ายสไปรูลิน่าสามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตของแบคทีเรียแล็กติกได้ โดยการเพิ่มความเข้มข้นของสาหร่ายสไปรูลิน่าส่งผลให้มีปริมาณสารสำคัญไฟโคไซยานิน ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมด และคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระมากขึ้น สามารถพัฒนาเป็นชีวผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าได้ นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้สาหร่ายสไปรูลิน่าเป็นซับสเตรตร่วมกับสารอาหารอื่น เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรียแล็กติกและเพิ่มผลผลิตกรดแล็กติกต่อไปได้
-
Spirulina platensis is produced commercially as a food source, and is considered safe for human consumption. It has attractively increasing interest due to its high protein content, essential amino acids, fatty acids, and pigments. Here, the potential of Spirulina platensis IFRPD 1182 biomass as a substrate for cultivation of lactic acid bacteria was evaluated. Lactobacillus rhamnosus ATCC 53103 growth was supported by Spirulina biomass during fermentation. The increasing of S. platensis biomass could increase C-phycocyanin and total phenolic contents including antioxidant properties which could be developed as bioproducts. The results showed a guideline for applying Spirulina as a substrate with other nutrient sources that could support the growth of lactic acid bacteria and lactic acid production.
-
[1] วนิดา ปานอุทัย (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์)
[2] กฤติน จุลนารา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
[3] จุฑามาศ อินคล้าย (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
[4] จุฑาทิพย์ รวดเร็ว (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
[5] ณัฐวดี แก้วเกลื่อน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
-
[1] Wanida Pan-utai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Institute of Food Research and Product Development. Department of Applied Microbiology)
[2] Krittin Julnara (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
[3] Juthamart Inkhlay (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
[4] Jutatip Roudrew (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
[5] Nutthawadee Kaewkluean (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
ค้นเพิ่มเติม
วนิดา ปานอุทัย และคนอื่นๆ. (2566). ผลของสาหร่ายสไปรูลิน่าต่อการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแล็กติก. 
วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, 53 (2) ,6-18
วนิดา ปานอุทัย และคนอื่นๆ. "ผลของสาหร่ายสไปรูลิน่าต่อการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแล็กติก"
วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, 53, 2566, 6-18.
วนิดา ปานอุทัย และคนอื่นๆ. (2566). ผลของสาหร่ายสไปรูลิน่าต่อการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียแล็กติก. 
วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, 53 (2) ,6-18